

17
ปีที่ 41 ฉบับที่ 182 พฤษภาคม - มิถุนายน 2556
ภาพที่ 3 การใช้วัสดุที่หาได้รอบๆ ตัวมาหุ้มกระป๋องน้ำ
�อัดลมเพื่อประเมินความเข้าใจเดิม
ของผู้เรียนเกี่ยวกับ “การถ่ายโอนความร้อน” (ที่มา:
[
3
]
)
ภาพที่ 4 ผู้เรียนคนเดียวกันใช้มือถือช้อนโลหะและช้อนพลาสติกที่มีก้อนน้ำ
�แข็งวางอยู่ (ที่มา:
[
3
]
)
สถานการณ์ที่ 1 สมบัติการเป็นฉนวนความร้อนของวัสดุ
ต่าง ๆ
ประสิทธิภาพของวัสดุต่าง ๆ ในการป้องกันการถ่ายโอน
ความร้อนนั้นแตกต่างกัน ผู้สอนสามารถประเมินความเข้าใจ
ของผู้เรียนเรื่องการถ่ายโอนความร้อนได้ โดยการนำ
�วัสดุที่มีอยู่
ในชีวิตประจำ
�วันมาหุ้มกระป๋องน้ำ
�อัดลมที่ผ่านการแช่เย็นและ
ทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง จากนั้นให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มได้ลองทำ
�นาย
ว่า วัสดุชนิดใดที่จะสามารถรักษาความเย็นของน้ำ
�อัดลมใน
กระป๋องได้ดีที่สุด พร้อมให้คำ
�อธิบายถึงสาเหตุว่าเพราะเหตุใด
จึงเลือกวัสดุดังกล่าว
วัสดุที่นำ
�มาหุ้มกระป๋องน้ำ
�อัดลมในกิจกรรมตัวอย่างนี้มี 5
ชนิด ได้แก่ ถุงเท้าผ้าขนสัตว์ (wool sock) ถุงเท้าผ้าฝ้าย (cotton
sock) พลาสติกห่ออาหาร (plastic wrap) อะลูมินัมฟอยล์
(aluminum foil) และกระดาษทิชชูอเนกประสงค์ (paper
towel) ดังแสดงในภาพที่ 3
ผู้เรียนส่วนใหญ่อาจจะตอบว่าการห่อหุ้มกระป๋องด้วย
“อะลูมินัมฟอยล์” จะสามารถรักษาความเย็นของน้ำ
�อัดลมใน
กระป๋องได้ดีที่สุด เพราะว่าผู้เรียนเคยเห็นวัสดุที่ใช้ห่อไอศกรีม
มีลักษณะมันวาวคล้ายแผ่นอะลูมินัมฟอยล์หรือบางคนอาจจะ
ตอบว่าแผ่นพลาสติก เพราะเคยได้ยินมาว่าพลาสติกเป็นฉนวน
ความร้อน การได้มาซึ่งคำ
�ตอบดังกล่าว จะทำ
�ให้ผู้เรียนพยายาม
คิดถึงหลักการของการถ่ายโอนความร้อน และถ้าคำ
�ตอบไม่ตรง
กับผลที่สังเกตได้ จะส่งผลให้ผู้เรียนเกิด “ความไม่ลงตัวทางความ
คิด” (Cognitive Dissonance หรือ Cognitive Conflict) ที่
ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนอยากเรียนรู้ ทำ
�ความเข้าใจในเนื้อหาต่อไป
สถานการณ์ที่ 2 การถ่ายโอนความร้อนของช้อนโลหะและ
ช้อนพลาสติก
ในสถานการณ์ที่ 2 นี้ ผู้สอนสามารถประเมินความเข้าใจ
เดิมของผู้เรียนเกี่ยวกับ “การนำ
�ความร้อน” ได้โดยให้ผู้เรียน
คนใดคนหนึ่งที่เป็นตัวแทนกลุ่มใช้มือข้างหนึ่งถือช้อนโลหะ ส่วน
จากนั้นให้ผู้เรียนทำ
�นายว่า “เมื่อถือช้อนทั้งสองคันไว้
เป็นระยะเวลาหนึ่ง น้ำ
�แข็งในช้อนคันใดจะละลายได้มากกว่า
กัน” ผู้เรียนที่อยู่ในระดับชั้นมัธยมต้นส่วนใหญ่อาจจะตอบว่า
น้ำ
�แข็ง ในช้อนที่ทำ
�จากพลาสติกจะละลายได้มากกว่า
เนื่องจากผู้เรียนอาจจะคุ้นเคยกับการได้สัมผัสวัสดุที่เป็น
โลหะและจะรู้สึกเย็นกว่าการได้สัมผัสวัสดุที่ทำ
�จากพลาสติก
ผู้เรียนส่วนใหญ่จึงมีความเข้าใจว่า ช้อนโลหะที่เย็นกว่า
จะสามารถทำ
�ให้น้ำ
�แข็งเย็นได้นานกว่าช้อนพลาสติกที่
อุ่นกว่า ซึ่งผลการทดสอบจะเป็นอย่างไร การที่ผู้เรียนได้
พยายามหาคำ
�อธิบายหลังจากที่ได้ทราบผลการทดสอบ จะ
เป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนต้องการทำ
�ความเข้าใจเกี่ยวกับ
หลักการของการถ่ายโอนความร้อนมากยิ่งขึ้น
สถานการณ์ที่ 3 อากาศร้อนภายในบ้านและการแผ่รังสี
ความร้อน
ผู้สอนสอบถามผู้เรียนเกี่ยวกับประสบการณ์จากการที่เคย
อาศัยอยู่ภายในบ้านว่า ระหว่างบริเวณชั้นบนและบริเวณชั้นล่าง
ของบ้านของผู้เรียน บริเวณใดมีอากาศร้อนกว่ากัน โดยพยายาม
มุ่งเน้นไปที่ความเข้าใจของผู้เรียนที่ว่า “ความร้อนลอยจากที่ต่ำ
�
ขึ้นสู่ที่สูง” (heat rises) จากนั้น ให้นำ
�บ้านจำ
�ลองที่สร้างขึ้นมา
วางให้หลอดไฟ 3 – 4 หลอด ส่องไฟไปที่หลังคาบ้านสักพักหนึ่ง
ก่อนจะนำ
�บ้านมากลับด้าน ให้ด้านล่างของบ้านอยู่ด้านบน แล้ว
ให้ผู้เรียนใช้มือใส่เข้าไปในบ้านและถามว่า “บริเวณด้านบนหรือ
ด้านล่างของบ้านมีอากาศร้อนมากกว่ากัน”
มืออีกข้างหนึ่งถือช้อนพลาสติก จากนั้นนำ
�น้ำ
�แข็งสองก้อนที่มี
น้ำ
�หนักใกล้เคียงกันมาวางบนช้อนทั้งสองคัน คันละหนึ่งก้อน จัด
ให้ส่วนปลายช้อนอยู่เหนือภาชนะรองรับน้ำ
� เช่น กระดาษทิชชู
อเนกประสงค์หรือแก้วพลาสติก