Previous Page  5 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 5 / 62 Next Page
Page Background

5

ปีที่ 41 ฉบับที่ 182 พฤษภาคม - มิถุนายน 2556

รูป 3 ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์

รูป 4 ภาพจำ

�ลองการเกิดภาพติดตา

ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่าหน่วยรับข้อมูลจากประสาทสัมผัสมีขนาด

ความจุเป็นเท่าไร แต่นักจิตวิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับสมองส่วนใหญ่ลง

ความเห็นว่า ขนาดความจุของหน่วยรับข้อมูลนี้มีจำ

�นวนมากมาย

นับไม่ถ้วน โดยที่ข้อมูลที่เข้ามายังหน่วยรับข้อมูลจากประสาทสัมผัส

มีจำ

�นวนมากและมีการรับส่งข้อมูลอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นมนุษย์จะ

จัดการกับข้อมูลจำ

�นวนมากที่หน่วยรับข้อมูลจากประสาทสัมผัส

ได้อย่างไร? ข้อมูลใดบ้างที่จะถูกส่งต่อไปยังหน่วยประมวลผล? คำ

ตอบก็คือ ข้อมูลที่เราให้ความสนใจเท่านั้น จึงจะถูกส่งต่อไปยังหน่วย

ประมวลผล เช่น ในขณะที่ท่านผู้อ่านกำ

�ลังอ่านบทความนี้อยู่ ความ

สนใจของท่านจะถูกส่งไปที่ตัวอักษรที่ปรากฏในบทความ ดังนั้น

ข้อมูลจากการมองเห็นจึงถูกส่งต่อไปยังหน่วยประมวลผล แต่ข้อมูล

จากประสาทสัมผัสส่วนอื่น ๆ อาจถูกละเลยไป เช่น ท่านอาจจะลืมที่

จะสังเกตเสียงรอบข้าง ลืมไปว่าเท้าท่านกำ

�ลังสัมผัสพื้นอยู่และขาของ

ท่านก็กำ

�ลังสัมผัสเก้าอี้อยู่ เช่นเดียวกันกับกรณีที่นักเรียนไม่สามารถ

จดจำ

�สิ่งที่ครูพูดอยู่หน้าชั้นเรียนได้ ถึงแม้นักเรียนคนนี้จะได้ยินในสิ่ง

ที่ครูพูดก็ตาม การเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ขึ้น เนื่องจากนักเรียนคนนี้ไม่

ได้ให้ความสนใจกับสิ่งที่ครูกำ

�ลังพูด นี่จึงเป็นเหตุผลหนึ่งที่สมองของ

มนุษย์ไม่สามารถจดจำ

�สิ่งที่ได้ยินหรือสิ่งที่ได้เห็นได้

ท่านผู้อ่านคิดว่า ข้อมูลที่มีลักษณะใดบ้างครับที่ได้รับความสนใจ

จากระบบสมองของมนุษย์เป็นพิเศษ? คำ

�ตอบก็คือ ข้อมูลนั้นจะต้อง

มีความโดดเด่นและแตกต่างจากสิ่งอื่น ๆ โดยที่คุณสมบัติของข้อมูล

ที่มีความโดดเด่นมีดังนี้

• ขนาด

วัตถุที่มีขนาดใหญ่จะได้รับความสนใจจากสายตา

มนุษย์มากกว่าวัตถุที่มีขนาดเล็ก เช่น กรณีของใบปลิวโฆษณาที่มีการ

ใช้ตัวอักษร

ขนาดใหญ่

กับข้อความที่เจ้าของโฆษณาต้องการจะ

สื่อสารไปยังผู้อ่าน ในขณะที่ข้อความที่ไม่มีความสำ

�คัญ ผู้ออกแบบ

ใบปลิวจะใช้ตัวอักษร

ขนาดเล็ก

ดังรูปที่ 5

• ความเข้ม

ปัจจัยหนึ่งที่สามารถดึงความสนใจของมนุษย์

ได้ก็คือ ความเข้มของสัญญาณ เช่น ในขณะที่เราอ่านหนังสืออยู่ใน

โมเดลการทำ

�งานของสมองแบบคู่หน่วยความจำ

�จึงมีลักษณะ

คล้ายการทำ

�งานของคอมพิวเตอร์ที่ประกอบไปด้วย หน่วยรับข้อมูล

(Input Unit) แรม (RAM) และ รอม (ROM) ดังรูป 3 โดยที่หน่วย

รับข้อมูลของคอมพิวเตอร์เปรียบได้กับหน่วยรับข้อมูลจากประสาท

สัมผัสของระบบสมอง ซึ่งหน่วยรับข้อมูลของคอมพิวเตอร์นี้มีหน้า

ที่ในการรับข้อมูลจากภายนอกผ่านทางคีย์บอร์ด เมาส์ ไมโครโฟน

หรือหน้าจอ (ในกรณีที่เป็นจอระบบสัมผัส) แล้วส่งข้อมูลไปยัง

หน่วยประมวลผลที่ประกอบไปด้วยหน่วยความจำ

�สองแบบคือ แรม

(RAM) ซึ่งเปรียบได้กับหน่วยความจำ

�ระยะสั้นของระบบสมอง โดย

แรมจะมีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลที่จำ

�เป็นสำ

�หรับการประมวลผลแบบ

ชั่วคราวเท่านั้น ในขณะที่หน่วยความจำ

�หน่วยที่สองก็คือ รอม (ROM)

หรือที่เรารู้จักคือ ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) จะเป็นหน่วยความจำ

�หลัก

ที่เก็บข้อมูลที่สำ

�คัญต่าง ๆ เอาไว้ ซึ่งเปรียบได้กับหน่วยความจำ

�ระยะ

ยาวของระบบสมองนั่นเอง

แรม (Random Access Memory: RAM)

ทำ

�หน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำ

�สั่งต่าง ๆ ที่ใช้ในการประมวลผล

โดยข้อมูลในหน่วยความจำ

�นี้จะหายไปเมื่อปิดเครื่อง

ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk)

ทำ

�หน้าที่เป็นอุปกรณ์หลักสำ

�หรับเก็บข้อมูล

เครื่องอ่านซีดีรอม

(CD-ROM Drive)

พอร์ตยูเอสบี

(Universal Serial Bus Port)

เครื่องอ่านแผ่นบันทึก

(Floppy Drive)

พอร์ตแลน (LAN Port)

พอร์ตแป้นพิมพ์

(Keyboard Port)

พอร์ตเมาส์

(Mouse Port)

พอร์ตอนุกรม

(Serial Port)

พอร์ตขนาน

(Parallel Port)

พอร์ตวีจีเอ

(VGA Port)

พอร์ตเกม

(Game Port)

พอร์ตไฟร์ไวร์

(Firewire Port)

พอร์ตโมเด็ม(ModemPort)

ออดิโอแจ็ค

(Audio Jack)

หน่วยรับข้อมูลจากประสาทสัมผัส

เมื่อมนุษย์ได้รับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมภายนอกไม่ว่าจะเป็นใน

รูปแบบของการมองเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น การรับรส และการ

สัมผัส ข้อมูลเหล่านี้จะถูกส่งมาเก็บไว้ที่หน่วยรับข้อมูลจากประสาท

สัมผัสช่วงเวลาหนึ่ง ก่อนที่จะถูกส่งออกไปเพื่อประมวลผล การเกิด

ภาพติดตาเป็นตัวอย่างหนึ่งที่แสดงถึงการตกค้างของข้อมูลในหน่วย

รับข้อมูล ตัวอย่างของภาพติดตา ได้แก่ การเกิดภาพซ้อนทับกัน

ระหว่างกรงกับนกในของเล่นที่ชื่อว่า

Thaumatrope

การเกิดร่อง

รอยการเดินทางของแหล่งกำ

�เนิดแสงในที่มืดและการบิดเบี้ยวของ

ดินสอที่กำ

�ลังเคลื่อนที่ขึ้นลงอย่างรวดเร็ว ดังรูปที่ 4

หน่วยประมวลผลกลาง

(Central Processing Unit: CPU)

ทำ

�หน้าที่ประมวลผลข้อมูล และควบคุม

การทำ

�งานของอุปกรณ์ต่าง ๆ