

6
นิตยสาร สสวท.
รูป 5 ตัวอย่างใบปลิวโฆษณา
ผมอยากให้ท่านผู้อ่านลองกลับไปดูวิธีการสอนของท่านนะครับ
ว่า วิธีการสอนของท่านมีความสามารถในการดึงดูดความสนใจของ
นักเรียนหรือบุตรหลานของท่านมากน้อยเพียงใด? สื่อการเรียนการ
สอนมีการใช้ตัวอักษรตัวใหญ่ ตัวหนา มีการใช้การตีกรอบ การขีด
บรรณานุกรม
Atkinson, R. C. & Shiffrin, R. M. (1968).
Human memory: A proposed system
and its control processes.
In K.W. Spence & J.T.
Spence,
The psychology
of learning and motivation (Volume 2)
. New York: Academic Press.
pp.89-195.
Hunt, M. (1983).
The universe within: A new science explores the human
mind
. New York: Simon and Schuster.
Ormrod, J. E. (2004).
Human Learning.
(4th ed.). Upper Saddle River, New
Jersey: Pearson Prentice Hall.
Stewart, J. & Atkin, J. A. (1982). Information processing psychology: A promising
paradigm for research in science teaching.
Journal of Research in
Science Teaching, 19
(4), 321-332.
ห้องเงียบ ๆ เราจะสามารถรับรู้เสียงที่ดังมาก ๆ หรือเสียงที่แหลม
มาก ๆ ได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้เราก็ยังสามารถรับรู้กลิ่นที่เหม็น
มาก ๆ หรือกลิ่นที่หอมมาก ๆ ได้อย่างรวดเร็วเช่นกัน สีสันของวัตถุ
ก็เป็นตัวอย่างหนึ่งที่มีความสามารถในการดึงความสนใจของสายตา
มนุษย์ได้เป็นอย่างดี โดยที่สีแดง สีเหลือง หรือสีสว่างที่โดดเด่นกว่า
สีของวัตถุรอบข้าง จะได้รับความสนใจจากสายตามนุษย์เป็นพิเศษ
ด้วยเหตุนี้ ของเล่นเด็กทั้งหลายจึงถูกออกแบบให้มีสีสันสวยงาม
เพื่อดึงความสนใจของเด็กให้มองเห็นสิ่งเหล่านั้นก่อนวัตถุชนิดอื่น ๆ
ความหนาบางของตัวอักษรก็เช่นกัน ตัวอักษรที่มีความหนากว่าปกติ
จะได้รับความสนใจมากกว่าตัวอักษรที่มีขนาดปกติ ดังนั้นตัวอักษร
หนาจึงถูกเลือกใช้สำ
�หรับการเน้นหัวข้อหรือข้อความที่สำ
�คัญ ๆ
• ความผิดแผก
ลักษณะสิ่งที่ผิดปกติ โดดเด่น หรือ
แตกต่างจากสิ่งอื่นที่อยู่โดยรอบก็เป็นคุณสมบัติหนึ่งที่สามารถ
ดึงความสนใจของมนุษย์ได้เป็นอย่างดี เช่น ข้อความที่ขีดเส้นใต้
หรือ ข้อความที่อยู่ในกรอบ
• ความสนใจส่วนบุคคล
ถึงแม้ว่าคุณสมบัติอื่น ๆ ที่กล่าว
มาข้างต้นไม่ว่าจะเป็นขนาด ความเข้มและความผิดแผกของข้อมูล
จะสามารถดึงความสนใจของสมองมนุษย์ได้เป็นอย่างดี แต่ก็ไม่ได้
หมายความว่า คุณสมบัติเหล่านี้จะสามารถรักษาระดับความสนใจนี้
ได้เป็นระยะเวลานาน ปัจจัยอีกปัจจัยหนึ่งที่นอกจากจะเป็นปัจจัยที่
สามารถดึงความสนใจของมนุษย์ได้แล้ว ยังสามารถรักษาระดับความ
สนใจนั้นได้เป็นระยะเวลาที่ยาวนานก็คือ การสอดคล้องกับความ
สนใจส่วนบุคคล เช่น ถ้าหากเปรียบเทียบระหว่างหนังสือเรียนกับ
โทรทัศน์ที่เปิดพร้อมกัน เด็กย่อมจะเลือกที่จะดูโทรทัศน์มากกว่าอ่าน
หนังสือเรียน แต่ในกรณีที่เป็นหนังสือการ์ตูนที่เด็กชอบอ่านมาก ๆ
เมื่อเปรียบเทียบกับละครในโทรทัศน์ เด็กคนนี้ก็อาจจะเลือกอ่าน
หนังสือการ์ตูนก็เป็นได้ ดังนั้นความสนใจส่วนบุคคลจึงเป็นปัจจัยที่
สำ
�คัญในการกำ
�หนดการเลือกรับรู้ข้อมูล
เส้นใต้หรือการไฮไลท์เน้นข้อความที่สำ
�คัญหรือไม่? ขณะที่ท่านสอน
มีการใช้เสียงสูง เสียงต่ำ
� เพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียนหรือไม่?
รูปภาพหรือคำ
�บรรยายประกอบการสอนมีความโดดเด่นหรือไม่?
ตัวเนื้อหาและตัวอย่างประกอบมีความเกี่ยวข้องกับตัวผู้เรียนและ
สอดคล้องกับความสนใจของผู้เรียนหรือไม่? ถ้าคำ
�ตอบของท่านส่วน
ใหญ่คือ “ไม่” ผู้เรียนก็อาจจะไม่ให้ความสนใจบทเรียนของท่านก็เป็น
ได้ ดังนั้นการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนจึงควรจะคำ
�นึงถึง
ปัจจัยที่ช่วยดึงดูดความสนใจของผู้เรียนด้วยนะครับ
ความรู้ที่ท่านผู้อ่านได้ ในบทความนี้อาจจะยังไม่เพียงพอต่อ
การนำ
�ไปประยุกต์ใช้ ในการจัดการเรียนการสอนของท่านมากนัก
เปรียบได้กับจิ๊กซอว์ (Jigsaw) ที่ตอนนี้ท่านผู้อ่านยังมีเพียงแค่ตัว
เดียว แต่เมื่อท่านผู้อ่านได้รับจิ๊กซอว์เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และนำ
�มาร้อยเรียง
ต่อกัน ท่านก็จะค่อย ๆ มองเห็นภาพว่า สิ่งที่ท่านมีนั้นมันสวยงาม
และมีคุณค่าเพียงใด ในบทความต่อไป ผมจะอธิบายถึงการทำ
�งาน
และข้อจำ
�กัดของหน่วยความจำ
�สำ
�หรับการประมวลผลของระบบ
สมองมนุษย์ เป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่าคอมพิวเตอร์จะประมวลผล
เร็วหรือช้านั้น ส่วนหนึ่งจะขึ้นอยู่กับขนาดความจุของแรม การประมวล
ผลของสมองมนุษย์ก็เช่นกัน การที่มนุษย์มีขนาดของหน่วยความจำ
�
สำ
�หรับการประมวลผลที่จำ
�กัด จึงส่งผลต่อความสามารถในการ
เรียนรู้ ดังนั้นเราจะบริหารจัดการแรมในสมองของเราให้ทำ
�งานอย่างมี
ประสิทธิภาพได้อย่างไร? เราจะฝึกหรือเพิ่มหน่วยความจำ
�ของแรมใน
สมองของเราได้อย่างไร? การแปลงโจทย์ปัญหาเป็นรูปภาพและการทำ
�
แบบฝึกหัดบ่อย ๆ จะช่วยพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา
ทางฟิสิกส์ได้อย่างไร? คำ
�ตอบของคำ
�ถามเหล่านี้ ท่านผู้อ่านจะได้รับ
ทราบกันในบทความต่อไป สำ
�หรับบทความนี้ผมคงต้องขอจบเพียง
เท่านั้น ขอบคุณมากครับ