Previous Page  4 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 4 / 62 Next Page
Page Background

จากการทำ

ากิจกรรมพบว่า เมื่อเปิดสวิตช์ควบคุมหลอด

แอลอีดีครั้งละ 1 หลอด พบว่า แสงจากหลอดแอลอีดีผ่านวัตถุ

ทึบแสงทำ

าให้เกิดเงาบนฉาก และบริเวณรอบเงาจะมีสีเหมือน

กับแสงสีของหลอดแอลอีดีต้นกำ

าเนิดแสง ดังรูปที่ 3

ถ้าเปิดสวิตช์หลอดแอลอีดีครั้งละ 2 หลอด เช่น เปิดสวิตช์

หลอดแอลอีดีสีแดงและสีเขียว จะพบว่าเงาของหลอดแอลอีดี

สีเขียว (บริเวณพื้นที่ A) จะมีสีแดง ในส่วนของเงาของหลอด

แอลอีดีสีแดง (บริเวณพื้นที่ B) จะมีสีเขียว และบริเวณที่เงาของ

แต่ละหลอดแอลอีดีซ้อนทับกัน (บริเวณพื้นที่ C) จะมีสีดำ

าคือ

บริเวณที่ไม่มีแสงสีใดไปตกกระทบ ส่วนบริเวณนอกเหนือจาก

เงาของหลอดไฟทั้งสอง (บริเวณพื้นที่ D) จะเป็นการผสมของ

แสงสีเขียวและแสงสีแดง ซึ่งจะได้แสงสีเหลือง ดังรูปที่ 4

กิจกรรม การท�

าเงาให้มีสีต่าง ๆ

อุปกรณ์

1. ชุดแหล่งกำ

าเนิดแสงสีแดง เขียว น้ำเงิน (หลอดแอลอีดี

ที่ให้แสงสีแดง เขียวและน้ำเงิน)

2. วัตถุทึบแสง

3. ฉาก (กระดาษขาว)

วิธีท�

ากิจกรรม

1. นำ

าชุดแหล่งกำ

าเนิดแสงสีมาวางหันหน้าเข้าฉาก

ดังรูปที่ 2

2. วางวัตถุทึบแสงระหว่างชุดแหล่งกำ

าเนิดแสงสีกับฉาก

3. เปิดสวิตช์ควบคุมหลอดแอลอีดีครั้งละ 1 หลอด, 2

หลอด (หลอดสีแดงและสีเขียว, หลอดสีเขียวและสีน้ำเงิน,

หลอดสีน้ำเงินและสีแดง) และ 3 หลอด (หลอดสีแดง สีน้ำเงิน

และสีเขียว) พร้อมทั้งสังเกตผลที่เกิดขึ้น

รูปที่ 2 การวางชุดแหล่งกำ

าเนิดแสงสีและฉาก

รูปที่ 4 การทำ

าให้เงา

มีสีจากหลอดไฟ 2 สี

รูปที่ 3 เงาที่เกิดจากหลอดแอลอีดีแต่ละสี

เงาจากหลอดแอลอีดี

สีเขียว

เงาจากหลอดแอลอีดี

สีน้ำ

าเงิน

เงาจากหลอดแอลอีดี

สีแดง

และในกรณีเปิดสวิตช์หลอดแอลอีดี 3 หลอด ที่มีสีแดง

เขียว และน้ำ

าเงิน ซึ่งเรียกว่าแสงสีปฐมภูมิในสัดส่วนเท่า ๆ กัน

ฉายลงบนฉากสีขาวจะพบว่าแสงสีทั้งสามผสมกันได้สีขาว

ดังรูปที่ 5 และถ้ามีวัตถุมากั้นอยู่ระหว่างหลอดแอลอีดีกับฉาก

จะทำ

าให้เกิดเงามีสีต่าง ๆ ดังรูปที่ 6

รูปที่ 6 สีของเงาจากหลอดแอลอีดี ทั้ง 3 สี

รูปที่ 5 การฉายแสง

สีแดง เขียว น้ำ

าเงิน

ในสัดส่วนเท่าๆ กัน

ลงบนฉากสีขาว

ชุดแหล่งกำ

าเนิดแสง

ฉาก

น้ำ

าเงิน

แดง

เขียว

F

G

E

K

I H J

นิตยสาร สสวท.

4