Previous Page  5 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 5 / 62 Next Page
Page Background

จากรูปที่ 6 จะพบว่า เมื่อเปิดสวิตช์หลอดแอลอีดีทั้งสาม

หลอดพร้อมกัน เงาของหลอดแอลอีดีสีแดง (บริเวณพื้นที่ G)

จะมีสีน้ำ

�เงินเขียว เงาของหลอดแอลอีดีสีเขียว (บริเวณพื้นที่

F) จะมีสีแดงม่วง เงาของหลอดแอลอีดีสีน้ำ

�เงิน (บริเวณพื้นที่

E) จะมีสีเหลือง บริเวณเงาของหลอดสีเขียวและสีแดงซ้อนทับ

กัน (บริเวณพื้นที่ I) จะมีสีน้ำ

�เงิน บริเวณเงาของหลอดสีน้ำ

�เงิน

และสีแดงซ้อนทับกัน (บริเวณพื้นที่ H) จะมีสีเขียว บริเวณเงา

ของหลอดสีแดง สีเขียวและสีน้ำ

�เงินซ้อนทับกัน (บริเวณพื้นที่ J)

จะมีสีดำ

� และบริเวณพื้นที่ K จะมีสีขาวที่เกิดจากการผสมของ

แสงสีปฐมภูมิ (แสงสีน้ำ

�เงิน เขียว และแดง) ในสัดส่วนเท่า ๆ กัน

ซึ่งการผสมแสงสีปฐมภูมิเป็นดังรูปที่ 7

รูปที่ 7 การผสมแสงสี

ปฐมภูมิบนฉากขาว

โดยจะไม่สามารถจำ

�แนกสีของแสงนั้นได้ ส่วนเซลล์รูปกรวยจะไว

เฉพาะต่อแสงที่มีความเข้มสูงถัดจากความไวของเซลล์รูปแท่ง

และสามารถจำ

�แนกแสงแต่ละสีได้ด้วย เซลล์รูปกรวยมี 3 ชนิด

คือ

1. เซลล์ที่มีความไวสูงสุดต่อแสงสีน้ำ

�เงิน

2. เซลล์ที่มีความไวสูงสุดต่อแสงสีเขียว

3. เซลล์ที่มีความไวสูงสุดต่อแสงสีแดง

แสงสีต่าง ๆ เมื่อผ่านเข้ามากระทบเรตินา ถ้าเป็นแสงสีแดง เขียว

หรือน�้

ำเงิน เซลล์รับแสงรูปกรวยที่ไวสูงสุดต่อแสงสีนั้น ๆ จะถูก

กระตุ้น สัญญาณที่เกิดขึ้นนี้จะถูกส่งผ่านประสาทตาไปสู่สมองเพื่อ

แปลความหมายออกมาเป็นความรู้สึกของการเห็นสีของแสงนั้น แต่

ถ้ามีแสงสีอื่นนอกจากแสงสีแดง เขียว หรือ น�้

ำเงินมาเข้าตา เซลล์รับ

แสง รูปกรวยมากกว่า 1 ชนิด จะถูกกระตุ้นพร้อมกันด้วยปริมาณมาก

น้อย ตามความเข้มของแสงสีที่ตกกระทบ สัญญาณกระตุ้นทั้งหมดจะ

ถูกส่งไปสู่สมองเพื่อแปลออกเป็นความรู้สึกในการเห็นสีของแสงนั้น

โดยถ้าแสงสีแดง สีเขียว หรือสีน�้

ำเงิน เพียงสีใดสีหนึ่งจะท�

ำให้เกิดการ

กระตุ้นเซลล์รับแสงรูปกรวยเพียงชนิดเดียว จึงเห็นเป็นแสงสีนั้น ๆ

ส่วนแสงสีอื่นนอกจากแสงสีปฐมภูมิจะกระตุ้นเซลล์รูปกรวยมากกว่า

1 ชนิด จากข้อมูลนี้ ถ้าใช้แสงสีปฐมภูมิมากกว่า 1 สี กระตุ้นเซลล์รูป

กรวย จะท�

ำให้มองเห็นเป็นแสงสีต่าง ๆ มากมาย แต่ถ้าเซลล์รูปกรวย

ท�

ำงานผิดปกติจะท�

ำให้เกิดการบอดสี คือ การมองเห็นสีผิดเพี้ยนไป

ในชีวิตประจ�

ำวันสิ่งต่าง ๆ ล้วนแล้วแต่มีสีปรากฏให้เห็น บางอย่างมี

สีเดียว บางอย่างมีหลากหลายสี จนบางครั้งเราอาจกล่าวได้ว่าชีวิต

ของเราอยู่ท่ามกลางโลกของสี ซึ่งสีมีผลต่อมนุษย์อันได้แก่ ช่วย

กระตุ้นความรู้สึก ช่วยสร้างบรรยากาศ นอกจากนี้ยังสามารถใช้

ดึงดูดความสนใจได้

จากข้างต้นเป็นการสร้างเงาให้มีหลากหลายสี

แล้วคุณคิดว่ามนุษย์มองเห็นแสงสีต่าง ๆ ได้อย่างไร?

เซลล์รูปกรวย

เรตินา

เส้นประสาท

เลนส์ตา

รูปที่ 8 ส่วนประกอบที่สำ

�คัญของตาและเรตินา

บรรณานุกรม

Annenberg Foundation. (2013). Colored shadow Background

.

Retrieved

July 28, 2013, from

http://www.learner.org/teacherslab/science/light/color/

shadows/coloredshadowsbackground.html

Chasteen, Stephanie. (2009, 27 May). Colored shadows. Retrieved

July 28, 2013, from

http://blog.sciencegeekgirl.com/2009/05/27/physics-toys-

tuesday-colored-shadows/#sthash.33Z8hsbl.dpuf

Exploratorium. Colured Shadows

.

Retrieved July 28,2013, from

http://www.exploratorium.edu/snacks/colored_shadows

The Naked Scientists. (2007, 6 May). Pinhole camera. Retrieved July 28, 2013,

from

http://www.thenakedscientists.com/HTML/content/kitchenscience/exp/

pinhole-camera

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ. (2542).

หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 1 ว 421 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

. กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

มนุษย์เห็นแสงสีได้จากการที่แสงสีเข้าสู่ตาโดยผ่านเลนส์

ตาและไปตกกระทบบนเรตินา โดยเรตินาประกอบด้วยเซลล์รับ

แสง 2 ชนิด คือ เซลล์รูปกรวย (cone cell) และเซลล์รูปแท่ง

(rod cell) เซลล์รูปแท่งจะไวเฉพาะต่อแสงที่มีความเข้มน้อย

เซลล์รูปแท่ง

ปีที่ 41

|

ฉบับที่ 183

|

กรกฎาคม-สิงหาคม 2556

5