Previous Page  1 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 1 / 62 Next Page
Page Background

คณะที่ปรึกษา

ประธานกรรมการ สสวท.

ผู้อ�

านวยการ สสวท.

บรรณาธิการบริหาร

ขจรเดช บุตรพรม

ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ

รองผู้อ�

านวยการ สสวท.

ผู้ช่วยผู้อ�

านวยการ สสวท.

หัวหน้ากองบรรณาธิการ

พงษ์เทพ บุญศรีโรจน์

กองบรรณาธิการ

ดร.กุศลิน มุสิกุล

ดร.จารุวรรณ แสงทอง

ดร.ชัยวุฒิ เลิศวนสิริวรรณ

ณรงค์ แสงแก้ว

ดุสิต สังข์ร่วมใจ

ถนิม ทิพย์ผ่อง

ธันยากานต์ ยืนตระกูลชัย

นวรัตน์ อินทุวงศ์

เบ็ญจวรรณ ศรีเจริญ

ประกายกานต์ ตรีอาภรณ์

ดร.ประสงค์ เมธีพินิตกุล

ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ

วนิดา คล่องอาสา

นิลุบล กองทอง

รัชนีกร มณีโชติรัตน์

สินีนาฎ ทาบึงกาฬ

ดวงมาลย์ บัวสังข์

สิริมดี นาคสังข์

สุประดิษฐ์ รุ่งศรี

เจ้าของ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กทม. 10110

โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307

Call Center: 0-2335-5222

(ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท.

หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง

โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย

จักเป็นพระคุณยิ่ง)

วัตถุประสงค์

1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีให้

แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป

2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท.

3. เสนอความก้าวหน้าของวิทยาการในด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์

และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุนการศึกษาของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน

4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่าง ๆ เกี่ยวกับความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีจากครูและผู้สนใจทั่วไป

ปาริฉัตร พวงมณี

ดร.พรชัย อินทร์ฉาย

พรพจน์ พุฒวันเพ็ญ

ดร.รชยา ศรีสุริฉัน

ราม ติวารี

ดร.วนิดา ธนประโยชน์ศักดิ์

ดร.โศจิวัจน์ เสริฐศรี

สมเกียรติ เพ็ญทอง

สุพจน์ วุฒิโสภณ

ดร.สุพรรณี ชาญประเสริฐ

อุปการ จีระพันธุ

ป

ที่ 42 ฉบับที่ 186 มกราคม - กุมภาพันธ

2557

สะเต็มศึกษากับการจัดการเร�

ยนรู

ในศตวรรษที่21

INQUIRYกำลังจะหายไป?!?!

การประเมินการรู

เร�่

องว�

ทยาศาสตร

ของPISA2015

เป

ดเล่ม สสวท. “สะเต็มศึกษา”

ปัจจุบันมนุษย์ต้องปรับตัวเพื่อพัฒนาให้ทันกับความก้าวหน้าด้าน

ต่าง ๆ ของโลก ทั้งด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยี เพื่อสร้างชีวิตให้มีศักยภาพ

ในการด�

ารงชีวิตและเป็นประชาชนที่มีคุณภาพในการพัฒนาประเทศต่อไป

ส�

าหรับแนวทางการศึกษาที่เหมาะสมกับโลกยุคปัจจุบัน และโลกอนาคต

ที่ต่างประเทศก�

าลังให้ความสนใจนั้น คือ การศึกษาที่เกี่ยวพันกับวิทยาศาสตร์

เทคโนโลยี คณิตศาสตร์ และวิศวกรรม อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงอาจกล่าวได้

ว่าในแต่ละวันของคนเรา แสงแดด ต้นไม้ ท้องฟ้า ดวงดาว สัตว์เลี้ยง รวมถึง

การดูโทรทัศน์ เล่นเกม ตลอดจนประดิษฐกรรมต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา การ

ศึกษาประเภทนี้ล้วนเป็นการช่วยพัฒนาคนในอนาคต ท�

าให้คนอยากเรียนรู้ด้วย

ตนเอง เปลี่ยนการเรียนแบบท่องจ�

าไปสู่การลงมือท�

า ซึ่งเป็นการเรียนรู้อย่าง

แท้จริง และเป็นที่มาของค�

าว่า “สะเต็มศึกษา” ที่ก�

าลังอยู่ในความสนใจของ

นักการศึกษาทุกวันนี้

“สะเต็มศึกษา” สามารถน�

าความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากการ

เรียนรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการด�

าเนินชีวิต

และประกอบอาชีพในอนาคต เพราะจะท�

าให้มนุษย์คิดอย่างมีเหตุผล

เชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี จึงมีความพยายามน�

าการเรียนรู้ลักษณะนี้

มาใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อบูรณาการ ทั้งแนวความคิดหลัก

ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และกระบวนการทางวิศวกรรม

ของประเทศไทยเรา

ส�

าหรับฉบับนี้ เรื่องราวของ STEM รอคอยการพิสูจน์จากคุณ

ผู้อ่านทุกท่าน เพราะครบครันด้วยสาระ แถมยังมีเรื่องราวที่น่าสนใจ ของ

“Vera Rubin นักดาราศาสตร์สตรีผู้วัดความเร็วในการหมุนรอบตัวเองของ

กาแลกซีเป็นคนแรก” หรือ “INQUIRY ก�

าลังจะหายไป?!?!” และอื่น ๆ อีก

มากมาย โปรดพลิกหน้าต่อไปด้วยใจระทึก...พบกันฉบับหน้าครับ

ขจรเดช บุตรพรม

บรรณาธิการบริหาร

ปีที่ 42 ฉบับที่ 186 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2557

1