Previous Page  6 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 6 / 62 Next Page
Page Background

INQUIRY

ก�

ำลังจะหายไป ?!?!

ผ่านมาร้อยกว่าปีแล้วที่ จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) ริเริ่ม

น�

ำกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ (Inquiry-Based

Instruction หรือ เรียกสั้นๆ ว่า Inquiry) มาใช้ในห้องเรียน

หลังจากนั้น Inquiry ก็เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการจัดการ

เรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยด้วย

ได้มีกลุ่มนักวิชาการการศึกษา นักจิตวิทยา หลากหลายกลุ่ม

คิดค้น และแนะน�

ำกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้อง

กับ Inquiry จากแนวคิดของดิวอี้ ให้กับครูผู้สอนน�

ำไปใช้ใน

ห้องเรียน เช่น การจัดการเรียนรู้แบบ 5E, Project-Based

Learning, Model-Based Learning และอื่น ๆ อีกมากมาย

มีทั้งประสบความส�

ำเร็จและล้มเหลว แต่โดยทั่วไปแล้วถือว่า

ห้องเรียนวิทยาศาสตร์จ�

ำนวนไม่น้อยยังไม่เข้าใจแนวคิดของ

Inquiry ครบสมบูรณ์ หรือเข้าใจผิด จึงน�

ำไปใช้ในห้องเรียน

ได้อย่างไม่เต็มประสิทธิภาพ

จากปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียน ปัจจุบันกลุ่มนักวิชาการ

ศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกาได้เริ่มประกาศใช้ มาตรฐาน

การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ยุคใหม่ ปี พ.ศ. 2556 (Next Genera-

tion Science Standard: NGSS)

ด้วยมาตรฐานยุคใหม่นี้เองที่ท�

ำให้ ครู และนักวิชาการ

ท่านอื่น ๆ ต่างตกใจ และสงสัยในอนาคตของ Inquiry กับ การ

เรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน เพราะ Inquiry ซึ่งปกติ

ถูกยกให้เป็นกระบวนการหลักในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

มาตลอด 100 ปี แทบจะไม่ถูกกล่าวถึงเลยใน NGSS เกิดอะไร

ขึ้นกับกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ หรือ Inquiry

ในมาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษาฉบับใหม่ Inquiry ก�

ำลังจะหาย

ไปจริงหรือไม่ แล้วจะมีกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบใหม่

แบบใดเข้ามาแทนที่ ในบทความนี้เราจะมาหาค�

ำตอบร่วมกัน

Inquiry คืออะไร?

ก่อนอื่นต้องย้อนกลับไปดูความหมายของ Inquiry

ตามมาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษาของสภาวิจัยแห่งชาติของ

สหรัฐอเมริกา (National Research Council: NRC) ซึ่ง

เป็นองค์กรของรัฐที่ท�

ำหน้าที่พัฒนามาตรฐานการศึกษาวิชา

วิทยาศาสตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2539 ได้

ให้นิยามไว้ว่า การสอนแบบสืบเสาะคือ ชุดของกระบวนการ

ที่เกี่ยวโยงกันที่เริ่มจากการตั้งค�

ำถามเกี่ยวกับธรรมชาติโดย

นักวิทยาศาสตร์และนักเรียน จากนั้น ด�

ำเนินการส�

ำรวจตรวจ

สอบเพื่อหาค�

ำตอบนั้น และด้วยกระบวนการดังกล่าวนี้เองจึง

ท�

ำให้นักเรียนได้มาซึ่งความรู้ และสามารถสร้างความเข้าใจ

ที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับ แนวคิด หลักการ แบบจ�

ำลอง และ ทฤษฎี

“Inquiry is a set of interrelated process by which

scientists and students pose questions about the

natural world and investigate phenomena; in doing

so, students acquire knowledge and develop a rich

understanding of concepts, principles, models, and

theories.” (NRC, 1996, p. 214)

ดร. นิพนธ์ จันเลน

นักวิชาการ วิทยาศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท. / e-mail :

niche@ipst.ac.th

นิตยสาร สสวท.

6