Previous Page  11 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 11 / 62 Next Page
Page Background

m

m

0

x

=

m

m

m

mg x k

=

2

mg x k

=

(c)

(d)

(e)

(b)

(a)

จากรูป

(a) ปล

อยวัตถุที่ตำแหน

งปลายสปริง

(b) วัตถุกำลังเคลื่อนที่ผ

านตำแหน

งสมดุลแรง (

x=mg/k

) แต

ไม

หยุดนิ่งเพราะยังมีสภาพเฉื่อย

ก

อนเข

าสมดุลแรง

(c) วัตถุหยุดนิ่งที่ตำแหน

งต่ำสุด

(d) วัตถุกำลังเคลื่อนที่ขึ้นผ

านตำแหน

งสมดุล

(e) วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นจะมาหยุด ณ ตำแหน

งที่ปล

อย (ซ้ำกับกรณี (a) นั่นเอง)

พื้น

แล้วเราจะหาค�

าตอบของสถานการณ์นี้อย่างไร..............

..............................................................................................

ใช่แล้วครับ โดยสมมติว่ามีการอนุรักษ์พลังงาน โดยให้

ต�

าแหน่งต�่

าสุดของก้อนมวลเป็นต�

าแหน่งอ้างอิงส�

าหรับค�

านวณ

พลังงานศักย์โน้มถ่วง และให้สมมติว่าเกิดการเปลี่ยนรูปพลังงาน

ศักย์โน้มถ่วงเป็นพลังงานศักย์ยืดหยุ่นในสปริงอย่างสมบูรณ์

(ไม่เกิดพลังงานในรูปอื่นขึ้น) ซึ่งเขียนเป็นความสัมพันธ์ได้ว่า

2

1

2

mgh mgx kx

 

(1)

และจัดรูปเป็นสมการพหุนามก�

าลังสองได้ว่า

2

2

2

0

mg mg

x

x

h

k

k

(2)

ค�

าตอบของสมการดังกล่าวสามารถหาได้ไม่ยากเพราะ

เป็นที่ทราบกันดีว่าสมการที่มีรูป

2

0

Ax Bx C

  

มีราก

ค�

าตอบเป็น

2

4

2

B B AC

x

A

  

ดังนั้นในสถานการณ์นี้เรา

จะได้ว่า

2

2

2

8

2

mg

mg mgh

k

k

k mg

x

R

k

 

(3)

โดยที่เราเขียนให้

2

2

mg

mgh

R

k

k

 

  

 

(4)

เพื่อสะดวกต่อการพิจารณาในล�

าดับถัดไป

จากสมการ (3) จะเห็นว่าค�

าตอบที่ได้มีความสมมาตร

รอบต�

าแหน่ง

mg x

k

=

ซึ่งเป็นต�

าแหน่งของสมดุลแรง และ

เคลื่อนที่ลงมาจากต�

าแหน่งดังกล่าวอีกเป็นระยะ

R

(

ข้อมูล

เพิ่มเติม

สังเกตว่าค่า

R

จากสมการ (4) จะมีค่าเป็นบวกเสมอ

ดังนั้น

R

จึงมีค่าเป็นบวกเสมอ ซึ่งท�

าให้การพิจารณาง่ายขึ้น

ในกรณีที่

R

น้อยกว่าศูนย์ รากที่สองของ

R

จะกลายเป็น

จ�

านวนเชิงซ้อน ซึ่งการพิจารณาจะยุ่งยากมากกว่านี้)

เรามาลองพิจารณาในกรณีต่อไปนี้

กรณีที่ 1

ถ้า

0

h

=

จากสมการ (4) เราจะได้ว่า

2

mg R

k

 

  

 

ดังนั้นค�

าตอบ

ของสมการ (3) ที่ได้คือ

0

x

=

หรือ

2

mg x

k

=

เราสามารถบรรยายสถานการณ์ได้ดังนี้ หากเราวางก้อน

มวลที่ปลายของสปริงพอดีและปล่อยให้ก้อนมวลเคลื่อนที่ลง

มา เราจะได้การสั่นของก้อนมวลที่เคลื่อนที่ขึ้นลงรอบต�

าแหน่ง

สมดุลแรง (

mg x

k

=

) โดยมีแอมพลิจูดการสั่นเท่ากับ

mg

k

ด้วย

กรณีที่ 2

ถ้า

0

h

>

การหาค�

าตอบของ

2

2

mg mgh

R

k

k

 

  

 

ในรูปของ

ตัวแปรกระท�

าได้ค่อนข้างยาก แต่ถึงกระนั้นจากรูปค�

าตอบ

เราอาจเขียนได้ว่า

mg R

k

  

อย่างแน่นอน (คือ

R

จะไม่น้อยไปกว่าค่า

mg

k

แน่ ๆ ) ซึ่งท�

าให้เราบรรยายสภาพ

การเคลื่อนที่ได้ว่า ถ้าปล่อยมวลสูง

h

จากต�

าแหน่งปลายของ

สปริง และถ้าสมมติว่าก้อนมวลนั้นติดแน่นกับปลายสปริงตลอด

เวลา สภาพการเคลื่อนที่จะเป็นการสั่นรอบต�

าแหน่งสมดุล

ปีที่ 42 ฉบับที่ 186 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2557

11