Previous Page  8 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 8 / 62 Next Page
Page Background

วิศวกรรม (Science and Engineering Practices) แทนค�

ว่า การสืบเสาะความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry)

มีอะไรใหม่ใน แนวปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์และ

วิศวกรรม?

สภาวิจัยแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาได้อธิบายว่า ค�

าว่า

แนวปฏิบัติ (Practice) ในที่นี้หมายถึง การหลอมรวมกันของ

ความรู้และทักษะของสาขาวิชานั้นๆ ซึ่งไม่สามารถแยกออก

จากกันได้ นั่นแปลว่าการที่นักเรียนจะเข้าใจถึงแนวปฏิบัติ

ทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม (Science and Engineering

Practices) ได้ก็ต่อเมื่อนักเรียนได้ลงมือใช้ความรู้และทักษะ

นั้นในการลงมือปฏิบัติจริง เป็นการแก้ไขข้อผิดพลาดในอดีต

ที่ครูมักจะสอนให้นักเรียนจดจ�

ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์

โดยไม่มีการลงมือปฏิบัติกระบวนการนั้นๆจริง สภาวิจัยแห่ง

ชาติของสหรัฐอเมริกาได้สรุป 8 แนวปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์

และวิศวกรรมส�

าหรับห้องเรียนวิทยาศาสตร์ (Practices for

K-12 Science Classrooms) ไว้ดังนี้

1. ตั้งค�

าถามทางวิทยาศาสตร์ และ นิยามปัญหาทาง

วิศวกรรม (Asking questions (for science) and defining

problems (for engineering))

2. สร้างและใช้แบบจ�

าลอง (Developing and using

models)

3. วางแผนและลงมือสืบค้นส�

ารวจ (Planning and

carrying out investigations)

4. วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูล (Analyzing

and interpreting data)

5. ใช้การคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์และการค�

านวณ

(Using mathematics and computational thinking)

6. สร้างค�

าอธิบายทางวิทยาศาสตร์ หรือ ออกแบบวิธีการ

แก้ปัญหาทางวิศวกรรม (Constructing explanations (for

science) and designing solutions (for engineering))

7. ร่วมสนใจในการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์จากหลักฐาน

ที่หามาได้ (Engaging in argument from evidence)

8. สืบค้น ประเมิน และ สื่อสารข้อมูล (Obtaining,

evaluating, and communicating information)

รูปที่ 1

แผนภำพแนวปฏิบัติทำงวิทยำศำสตร์และวิศวกรรม

(NRC, 2012)

เพื่อให้คนเข้าใจในแนวปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม

มากขึ้น ทางสภาวิจัยแห่งชาติจึงได้น�

าเสนอแผนภาพ แนว

ปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม (รูปที่ 1) โดยแบ่งออก

เป็นสามส่วนหลัก ๆ คือ 1.

ส่วนสืบเสำะ ค้นคว้ำ

(ด้านซ้าย)

ที่นักเรียนตั้งค�

าถามจากปรากฏการณ์ที่เห็นในชีวิตประจ�

าวัน

รวมทั้ง การออกแบบและการท�

าการทดลอง และลงมือเก็บ

ข้อมูล 2

. ส่วนพัฒนำค�

ำอธิบำยและแนวทำงแก้ปัญหำ

(ด้าน

ขวา) ที่นักเรียนเสนอค�

าอธิบายทางวิทยาศาสตร์หรือแนวทาง

การแก้ปัญหาทางวิศวกรรมจากหลักฐานที่หาได้ และ 3.

ส่วน

ประเมินผล

(ตรงกลาง) ที่นักเรียนต้องอาศัยการคิดวิเคราะห์

วิจารณ์ โต้แย้ง ทางวิทยาศาสตร์ จากแผนภาพจะเห็นได้ว่า

แนวปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมไม่ได้เป็นแนวปฏิบัติ

ที่นักเรียนต้องเริ่มที่ ขั้นที่ 1 ต่อด้วย ขั้นที่ 2 และ 3 เสมอไป

นิตยสาร สสวท.

8