

โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer disease) เป็นภาวะสมอง
เสื่อมที่พบมากที่สุด โดยเฉลี่ยผู้ป่วยจะอยู่ได้นาน 8–10 ปี
อาการเริ่มจากความบกพร่องของความจ�
ำ เช่น การสับสนวัน
เวลา หลงทิศทาง ท�
ำสิ่งที่เคยท�
ำเป็นประจ�
ำไม่ได้ จากนั้นจะ
มีพฤติกรรมเปลี่ยนไป เช่น หงุดหงิดง่าย อารมณ์แปรปรวน
หนีออกจากบ้าน จนในที่สุดผู้ป่วยจะเคลื่อนไหวร่างกายน้อย
ลงจนนอนอยู่เฉย ๆ ส่วนการรักษานั้น ในปัจจุบันยังไม่มียา
รักษาให้หายขาด แต่ยาบางตัวอาจช่วยลดอาการของผู้ป่วยได้
ถึงในปัจจุบันยังไม่มียารักษาให้หายขาด แต่ทั้งแพทย์และ
นักวิจัยก็ให้ความสนใจหาแนวทางการป้องกันโรคอย่างต่อเนื่อง
แนวทางหนึ่ง คือ การออกก�
ำลังสมองให้เซลล์สมองได้ท�
ำงาน
โดยการอ่าน/เขียนหนังสือ คิดเลข เล่นเกมฝึกสมองต่าง ๆ เช่น
การเล่นเกมซูโดกุ เกมปริศนาตัวเลข Ken-Ken หมากอลวน
ไปไหนไปคู่ หมากเวียนวน...ชนระเบิด หรือเกมปริศนาในรูป
แบบต่าง ๆ ซึ่งเกมเหล่านี้เป็นเกมทางคณิตศาสตร์ที่มุ่งเน้น
ให้ผู้เล่นได้ฝึกฝนด้านการคิดวิเคราะห์ อีกทั้งยังช่วยกระตุ้น
และพัฒนาสมองให้คิดอย่างเป็นระบบ รู้จักการให้เหตุผลและ
ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของค�
ำตอบ ซึ่งเป็นหัวใจส�
ำคัญ
ของวิชาคณิตศาสตร์ นอกจากนี้บางเกมยังช่วยฝึกทักษะการ
ค�
ำนวณ สมาธิ ความอดทน และความละเอียดรอบคอบ ใน
ขณะเดียวกันผู้เล่นยังได้รับทั้งความสนุกและความท้าทายใน
การคิดด้วย
กิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น ผู้เขียนได้น�
ำไป
จัดนิทรรศการตามที่ต่าง ๆ เช่น มหกรรมวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ 2554 – 2555 ที่ไบเทค บางนา นิทรรศการ
วันเด็กแห่งชาติปี 2555 – 2556 และนิทรรศการวันสัปดาห์
วิทยาศาสตร์ปี 2556 ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ท้องฟ้า
จ�
ำลองกรุงเทพ โดยแต่ละกิจกรรมได้รับความสนใจจากผู้เข้า
ร่วมเป็นอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากรูปที่ได้รวบรวมไว้จากการ
ท�
ำกิจกรรมในงานต่าง ๆ
นักเรียนก�
ำลังเล่นเกมหมากอลวน
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมก�
ำลังคร�่
ำเคร่งกับการเล่นเกมไปไหนไปคู่
ปฐมาภรณ์ อวชัย
นักวิชาการ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สสวท. / e-mail :
pawac@ipst.ac.thเกมช่วยป้องกันโรคอัลไซเมอร์
ปีที่ 42 ฉบับที่ 186 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2557
13