

ซึ่งนอกจากจะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงาน มวลของ
สาร และอัตราเร็วของแสงในสุญญากาศแล้ว สูตรแสดงทฤษฎี
สัมพัทธภาพนี้ยังแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์
ของหน่วยการวัดทางวิทยาศาสตร์ด้วยว่า หน่วยของพลังงาน
เป็นจูล ยังสามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณและหารของหน่วย
พื้นฐานเป็น กิโลกรัม · เมตร
2
ต่อ วินาที
2
ได้อีกด้วย
หรือในการศึกษาเรื่องการแผ่กระจายของก�
ำลังเสียงจาก
แหล่งก�
ำเนิดเสียงหนึ่ง ๆ นักวิทยาศาสตร์ก็พบว่าการแผ่กระจาย
ของก�
ำลังเสียงจากแหล่งก�
ำเนิดเสียงมีลักษณะการกระจาย
ตัวเป็นรูปทรงกลมท�
ำให้ความเข้มเสียง ณ ต�
ำแหน่งที่อยู่ห่าง
จากแหล่งก�
ำเนิดเสียงลดลงเรื่อย ๆ ตามความสัมพันธ์ต่อไปนี้
I
=
4
π
r
2
P
เมื่อ
I
แทนความเข้มเสียง ณ ต�
ำแหน่งหนึ่ง ๆ มีหน่วย
เป็น วัตต์ต่อตารางเมตร
P
แทนก�
ำลังเสียงของแหล่งก�
ำเนิดเสียง มีหน่วยเป็น วัตต์
r
แทนระยะจากแหล่งก�
ำเนิดเสียงไปยังต�
ำแหน่งที่ต้องการ
หาค่า
I
มีหน่วยเป็น เมตร
ซึ่งจากสมการจะเห็นว่า ตัวส่วน
4
π
r
2
ก็คือสูตรพื้นที่ผิว
ของรูปทรงกลมที่เสียงกระจายตัวไปถึง ณ ต�
ำแหน่งต่าง ๆ
นั่นเอง ดังนั้นความเข้มเสียง ณ จุดหนึ่ง ๆ ก็คืออัตราส่วน
ระหว่างก�
ำลังเสียงของแหล่งก�
ำเนิดเสียงกับพื้นที่ผิวของ
ทรงกลมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่แหล่งก�
ำเนิดเสียงและมีรัศมี
เท่ากับระยะจากแหล่งก�
ำเนิดเสียงไปยังจุดที่ต้องการหาค่า
ความเข้มเสียงดังแสดงในรูปที่ 1
รูปที่ 1 ก�
ำลังเสียงที่กระจายตัวเป็นทรงกลม
จากความสัมพันธ์นี้ จะเห็นว่า เมื่อก�
ำหนดให้ระยะ
r
คงที่ ความ
เข้มเสียงจะแปรผันตรงกับก�
ำลังเสียงของแหล่งก�
ำเนิดเสียง
I
α
P
หรือ
I
=
k
1
P
เมื่อ
k
1
เป็นค่าคงที่
และในทางกลับกันถ้าก�
ำหนดให้ก�
ำลังเสียงของแหล่ง
ก�
ำเนิดเสียงคงที่ ความเข้มเสียง ณ ต�
ำแหน่งต่าง ๆ จะแปร
ผกผันกับก�
ำลังสองของระยะห่างระหว่างแหล่งก�
ำเนิดเสียง
กับต�
ำแหน่งนั้น ๆ
I
α
1
r
2
หรือ
I
=
k
2
r
2
เมื่อ
k
2
เป็นค่าคงที่
ดังนั้นหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง
การกระจายของแหล่งก�
ำเนิดเสียงสามารถเชื่อมโยงกับเนื้อหา
คณิตศาสตร์เรื่องการแปรผัน อัตราส่วนและพื้นที่ผิวของทรง
กลมแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ที่มีอยู่ใน
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติซึ่งสามารถน�
ำมาประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจ�
ำวันได้ เช่น การหาระยะที่เหมาะสมส�
ำหรับการติด
ตั้งล�
ำโพงเพื่อให้ผู้ที่อยู่ห่างออกไปยังสามารถได้ยินได้
คณิตศาสตร์กับเทคโนโลยี
เทคโนโลยีเป็นการน�
ำทรัพยากรที่มีมาสร้างสิ่งของ เครื่อง
ใช้ ผลิตภัณฑ์ หรือวิธีการ ผ่านการท�
ำงานอย่างเป็นกระบวน
การ เพื่อช่วยแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของมนุษย์และ
เพิ่มความสามารถในการท�
ำงานและการด�
ำรงชีวิตให้มีความ
สะดวกสบาย รวดเร็ว และปลอดภัย จะเห็นว่าเทคโนโลยีมีการ
พัฒนาอยู่เรื่อย ๆ โดยมีเป้าหมายในการเพิ่ม ‘ประสิทธิภาพ’
การท�
ำงานให้สูงขึ้น
ประสิทธิภาพในการสร้างสรรค์เทคโนโลยีสามารถแสดง
ด้วยความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ในรูปของอัตราส่วนระหว่าง
สองตัวแปรคือ ผลที่ได้ และ ทรัพยากรที่ใช้
ประสิทธิภาพ = ผลที่ได้
ทรัพยากรที่ใช้
ดังนั้นการเพิ่มประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์หรือการท�
ำงาน
จึงสามารถท�
ำได้ด้วยการเพิ่มตัวเศษซึ่งก็คือ ผลที่ได้ โดยใช้
ทรัพยากรเท่าเดิม หรือการลดตัวส่วนซึ่งก็คือทรัพยากรที่ใช้
โดยให้ได้ผลที่ได้เท่าเดิม หรือ เพิ่มผลที่ได้โดยลดทรัพยากร
ที่ใช้ไปพร้อม ๆ กัน
แหล่งก�
ำเนิดเสียง
ก�
ำลัง
P
วัตต์
ระยะ
r
เมตร
ความเข้มเสียง วัตต์/เมตร
2
I
=
4
π
r
2
P
ปีที่ 42 ฉบับที่ 186 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2557
17