

47
ป
ที่ 42 ฉบับที่ 187 มีนาคม - เมษายน 2557
ลมที่กําลังหมุนไม
ทําให
เกิดเสียงรบกวนอย
างที่ได
คาดการณ
เอาไว
และหลังจากที่เราพิจารณาสภาวะของลมบนยอดเขาที่ค
อนข
างแรง
และมีลมพัดตลอดเวลาแล
ว ทางเราคาดว
า การจะสร
างโรงไฟฟ
า
ลักษณะเดียวกันนี้ในประเทศไทย อาจจะไม
สามารถทําได
เพราะ
ประเทศไทยไม
มีบริเวณที่มีสภาวะลมแรงและสมํ่าเสมออย
างที่บน
ยอดเกาะเซียชวนแห
งนี้
ทางเจ
าหน
าที่โรงไฟฟ
าชาวจีนได
บอกว
า ถึงแม
ว
าโรงไฟฟ
า
พลังงานลมแห
งนี้จะเดินเครื่องผลิตกระแสไฟฟ
ามา 9 ป
แล
ว แต
ชาวจีนยังไม
สามารถพึ่งพาพลังงานจากที่นี่ได
ตลอดเวลา ด
วยความ
ไม
แน
นอนของสภาพลมฟ
าอากาศ ทําให
ต
องมีการจัดหาพลังงาน
ไฟฟ
าจากโรงไฟฟ
าอื่นมาเตรียมรองรับไว
เสมอ
เนื่องจากประเทศจีนมีพื้นที่ที่กว
างใหญ
และมีชายฝ
งที่ยาวหลาย
พันกิโลเมตร ทําให
ประเทศจีนสามารถพัฒนาศักยภาพทางด
าน
เทคโนโลยีพลังงานลมจนก
าวขึ้นมาเป
นลําดับต
น ๆ ของโลกทางด
าน
นี้ในป
จจุบัน ซึ่งตัวเลขกําลังผลิตไฟฟ
าจากพลังงานลมทั่วประเทศ
กว
า 25.1 กิกะวัตต
และกังหันลมกว
า 35,000 ตัวทั่วประเทศ เป
น
ดัชนีที่บ
งชี้ถึงศักยภาพด
านพลังงานลมของประเทศจีนได
เป
นอย
างดี
โรงไฟฟ
านิวเคลียร
ดาย
าเบย
โรงไฟฟ
านิวเคลียร
ดาย
าเบย
(Daya Bay Nuclear Power
Station) เป
นโรงไฟฟ
านิวเคลียร
เชิงพาณิชย
แห
งแรกของจีน เริ่มเดิน
เครื่องจ
ายกระแสไฟในป
พ.ศ. 2537 โดยให
กําลังการผลิตไฟฟ
ากว
า
1,968 จากเครื่องปฏิกรณ
นิวเคลียร
จํานวน 2 เครื่อง (แต
ละเครื่อง
ให
กําลังผลิตไฟฟ
า 984 เมกะวัตต
) ทั้งนี้ ปริมาณพลังงานไฟฟ
าที่
ผลิตได
กว
า 70% ได
ส
งให
เกาะฮ
องกง ส
วนที่เหลืออีก 30% ส
งให
ชาวจีนในมณฑลกวางดง
สถานที่ตั้งโรงไฟฟ
านิวเคลียร
ดาย
าเบย
เป
นพื้นที่ที่ทางรัฐบาล
จีนได
มีการทําการศึกษามาเป
นอย
างดีว
า จะไม
ได
รับผลกระทบ
จากภัยพิบัติทางธรรมชาติ ไม
ว
าจะเป
นแผ
นดินไหว สึนามิ อุทกภัย
หรือวาตภัย และด
วยอาคารครอบคลุมเครื่องปฏิกรณ
ที่สร
างจาก
คอนกรีตเสริมเหล็กกล
าหนากว
า 1 เมตร ประกอบกับการออกแบบ
ด
านความปลอดภัยที่ทันสมัยกว
าโรงไฟฟ
านิวเคลียร
ที่ฟุกุชิมะ ประเทศ
ญี่ปุ
น กว
า 20 ป
ทําให
ถึงแม
จะเกิดเหตุการณ
รุนแรงใด ๆ โรงไฟฟ
า
แห
งนี้จะสามารถป
องกันการรั่วไหลของรังสีได
เป
นอย
างดี ไม
เว
น
แม
แต
ในกรณีที่เครื่องบินพุ
งชนอาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ
เครื่องปฏิกรณ
นิวเคลียร
ของโรงไฟฟ
านิวเคลียร
ดาย
าเบย
เป
น
แบบ Pressurized Water Reactor (PWR) ที่ใช
ระบบนํ้า 3 วงจร
(3 Loops) สําหรับ การผลิตนํ้าร
อน การผลิตไอนํ้า และ การระบาย
ความร
อน ตามลําดับ โดยในส
วนของวงจรที่ใช
ผลิตนํ้าร
อน นํ้าใน
วงจรจะทําหน
าที่รับพลังงานความร
อนจากปฏิกิริยานิวเคลียร
ของ
เครื่องปฏิกรณ
สําหรับนําไปถ
ายโอนต
อให
นํ้าในวงจรที่ 2 เพื่อผลิต
ไอนํ้า นํ้าในวงจรแรกนี้จะมีอุณหภูมิสูงมากแต
จะยังไม
กลายเป
น
ไอนํ้า เพราะถูกควบคุมโดยระบบปรับความดัน จึงเป
นที่มาของคําว
า
Pressurized ของชื่อประเภทเครื่องปฏิกรณ
ในส
วนของนํ้าที่ใช
ระบายความร
อน โรงไฟฟ
าได
ใช
นํ้าทะเลที่อยู
บริเวณรอบ ๆ ที่ทําหน
าที่รับความร
อนจากไอนํ้าที่ใช
มาจากวงจรที่ 2
ก
อนจะนําไปปล
อยออกสู
ทะเลที่อ
าวดาย
า ดังนั้น โรงไฟฟ
าพลังงาน
นิวเคลียร
ดาย
าเบย
แห
งนี้จึงไม
จําเป
นสร
างปล
องควันขนาดใหญ
สําหรับ
ปล
อยไอนํ้าเพื่อระบายความร
อนเหมือนกับโรงไฟฟ
านิวเคลียร
รุ
น
ก
อน ๆ จึงไม
เกิดภาพการปล
อยควันสีขาวใหญ
ๆ ที่หลายคนรู
สึก
กลัวและหวาดระแวง
ในช
วงที่ประเทศจีนเริ่มนําเทคโนโลยีเครื่องปฏิกรณ
มาใช
สร
างพลังงานไฟฟ
า ประเทศจีนได
รับการถ
ายทอดเทคโนโลยีมา
จากประเทศฝรั่งเศส ซึ่งในเวลาต
อมา นักวิทยาศาสตร
และวิศวกร
นิวเคลียร
ของจีนได
ทําการค
นคว
าวิจัยเพิ่มเติม จนกระทั่งสามารถ
เป
นผู
ผลิตและพัฒนาเครื่องปฏิกรณ
ได
เอง ซึ่งป
จจุบัน ประเทศจีน
ได
มีการออกแบบเครื่องปฏิกรณ
ของประเทศจีนเองให
มีอายุการใช
งานและมีประสิทธิภาพมากกว
าแบบเดิม ซึ่งจีนได
จดสิทธิบัตรภาย
ใต
ชื่อ CPR-1000+ ที่จีนพร
อมถ
ายทอดให
กับประเทศอื่น ๆ
สําหรับเชื้อเพลิงที่โรงไฟฟ
านิวเคลียร
ดาย
าเบย
ใช
ในการสร
าง
การฟ
งบรรยายในห
องประชุม
ของโรงไฟฟ
านิวเคลียร
ดาย
าเบย
การแสดงนิทรรศการให
ความรู
ของโรงไฟฟ
านิวเคลียร
ดาย
าเบย