Previous Page  43 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 43 / 62 Next Page
Page Background

43

ปีที่ 42 ฉบับที่ 187 มีนาคม - เมษายน 2557

ดร.อลงกต ใหม่ด้วง

นักวิชาการ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษาตอนต้น สสวท. / e-mail :

amaid@ipst.ac.th

ไขรหัสความลับเวลาและพิชิตซีกโลกซ้ายขวา

ณ หอดูดาวกรีนิช ประเทศอังกฤษ

สถานที่ท่องเที่ยวส�

ำคัญที่คนรักวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์

และโดยเฉพาะอย่างยิ่งดาราศาสตร์ ไม่สามารถมองข้ามหาก

มีโอกาสได้ไปเยือน กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ก็คือหอดู

ดาวหลวงที่ต�

ำบลกรีนิชซึ่งมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน แถมยัง

เป็นสถานที่ส�

ำคัญในทางภูมิศาสตร์และเวลาของโลกในปัจจุบัน

เนื่องจากเป็นต�

ำแหน่งที่ก�

ำหนดให้เป็นเส้นลองจิจูด 0 องศา หรือ

ที่เรียกว่าเส้นเมริเดียนปฐม ซึ่งเป็นเส้นอ้างอิงส�

ำคัญในการแบ่ง

โซนเวลารวมทั้งแบ่งซีกโลกออกเป็นฝั่งซ้ายและฝั่งขวานั่นเอง

หอดูดาวหลวงที่ต�

ำบลกรีนิชนี้สร้างขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1675 โดย

กษัตริย์ Charles ที่ 2 ทรงแต่งตั้งให้ John Flamsteed เป็น

นักดาราศาสตร์หลวงท�

ำหน้าที่ศึกษาและพัฒนาแผนที่ดาวซึ่ง

มีประโยชน์ต่อการเดินเรือในสมัยนั้นโดยใช้หอดูดาวแห่งนี้เป็น

ทั้งที่พักและที่ท�

ำงาน John Flamsteed ด�

ำรงต�

ำแหน่งเป็น

นักดาราศาสตร์หลวงที่นี่จนเขาเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1719 จากนั้น

ก็มีผู้สืบทอดต�

ำแหน่งนักดาราศาสตร์หลวงต่อจากเขาอีกสิบราย

กระทั่งปี ค.ศ. 1948 จึงมีการย้ายสถานที่ปฏิบัติงานดาราศาสตร์

หลวงไปที่เมืองซัสเซกส์แทน หอดูดาวที่ต�

ำบลกรีนิชแห่งนี้จึง

ได้กลายเป็นพิพิธภัณฑ์ดาราศาสตร์เปิดบริการให้นักท่องเที่ยว

ได้ส�

ำรวจประวัติด้านการศึกษาดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และ

วิวัฒนาการของการพยายามสร้างเครื่องมือบอกเวลาที่เที่ยงตรง

พื้นที่จัดแสดงหลัก ๆ ของพิพิธภัณฑ์ดาราศาสตร์หรืออดีต

หอดูดาวหลวงแห่งนี้ก็อยู่ที่ตัวอาคารซึ่งเคยเป็นที่พักและที่

ท�

ำงานของเหล่านักดาราศาสตร์หลวงทั้งหลายเหล่านี้นั่นเอง

โดยปัจจุบันพิพิธภัณฑ์ได้ตั้งชื่ออาคารแห่งนี้ว่า Flamsteed

House เพื่อเป็นเกียรติแก่นักดาราศาสตร์หลวงท่านแรก และ

ได้เปิดแสดงทั้งในส่วนของชั้นล่าง ชั้นบน รวมถึงชั้นใต้ดินด้วย

ส�

ำหรับห้องต่าง ๆ ใน Flamsteed House นี้ก็ประกอบไปด้วย

ห้องพักและห้องท�

ำงานของบรรดานักดาราศาสตร์ โดยยังมี

การเก็บรักษาเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ อาทิ โต๊ะท�

ำงาน

โต๊ะเขียนแผนที่ เครื่องเขียนและเครื่องมือโบราณ เก้าอี้นั่งรวม

ถึงเตียงนอนเอาไว้ให้ผู้ชมได้สัมผัสถึงบรรยากาศในยุคสมัยนั้น

ในส่วนของชั้นบนซึ่งเป็นห้องแปดเหลี่ยมท�

ำให้สามารถมอง

เห็นท้องฟ้าได้รอบทิศทาง ก็มีการจัดแสดงกล้องโทรทรรศน์ดู

ดาวแบบโบราณที่ประกอบด้วยไม้และมีขั้นคล้ายบันไดเพื่อปรับ

มุมเงยของตัวกล้องในองศาต่าง ๆ ได้ โดยในด้านหนึ่งของห้อง

ก็มีการจัดแสดงพระบรมฉายาทิศลักษณ์ขนาดใหญ่ของกษัตริย์

Charles ที่ 2 และกษัตริย์ James ที่ 2 องค์อุปถัมภ์พระองค์

ส�

ำคัญของหอดูดาวหลวงแห่งนี้ด้วย

ส�

ำหรับชั้นใต้ดินของ Flamsteed

House ก็เป็นการแสดงนิทรรศการ

ประวัติศาสตร์ของประดิษฐกรรมนาฬิกา

และระบบการแบ่งเขตเวลาของมนุษย์

โดยมีการเท้าความกันตั้งแต่ความจ�

ำเป็น

ของการพัฒนาเครื่องมือบอกต�

ำแหน่ง

ภูมิศาสตร์และเวลาที่แม่นย�

ำซึ่งเป็น

อุปกรณ์ส�

ำคัญในการเดินเรือข้ามมหาสมุทรในสมัยนั้น ความ

ท้าทายส�

ำคัญคือการประดิษฐ์นาฬิกาที่สามารถน�

ำไปใช้บนเรือ

และสามารถบอกเวลาได้อย่างเที่ยงตรงโดยไม่อาศัยการแกว่ง

ของลูกตุ้มเพราะพื้นเรือจะโคลงเคลงไปตามกระแสคลื่นตลอด

เวลาไม่สามารถรักษาความเสถียรได้ ปัญหาอันนี้นับเป็นปัญหา

ส�

ำคัญที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมของ

ประเทศอังกฤษในยุคสมัยนั้นมาก ถึงขนาดที่เมื่อปี ค.ศ. 1714

รัฐบาลอังกฤษได้ประกาศให้เงินรางวัลเป็นจ�

ำนวนถึง 20,000

ปอนด์หรือเทียบเท่ากับ 137 ล้านบาทในปัจจุบันแก่ผู้ใดก็ตามที่

สามารถประดิษฐ์คิดค้นนาฬิกาบอกเวลาซึ่งสามารถใช้ในการเดิน

เรือได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ก็ยังไม่มีผู้ใดสามารถพิชิตความ

ท้าทายนี้ได้จนกระทั่งปี ค.ศ. 1736 John Harrison ช่างไม้และ