Previous Page  38 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 38 / 62 Next Page
Page Background

38

นิตยสาร สสวท.

3. ขั้นเลือกวิธีการ

ผู้เรียนแต่ละกลุ่มตัดสินใจว่าจะใช้วัสดุใดในการสร้างตัวรถและวิธีการขับเคลื่อนรถแบบไหนที่ทำ

�ให้รถแข่งวิ่งได้ไกลที่สุด เช่น เลือกใช้

กระดาษลูกฟูกเป็นโครงรถเนื่องจากมีน้ำ

�หนักเบา เลือกใช้ยางวงเป็นพลังขับเคลื่อนโดยใช้วิธีพันเข้ากับเพลารถ หรือ เลือกใช้พลังลมจาก

ลูกโป่งติดที่ด้านบนตัวรถ

4. ขั้นออกแบบและปฏิบัติการ

แต่ละกลุ่มออกแบบรถแข่งของตนเองว่ามีรูปร่างลักษณะแบบใด จะต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ชิ้นไหน จำ

�นวนเท่าใด โดยร่างภาพรถแข่งที่จะ

สร้างโดยแสดงว่าได้นำ

�วัสดุอุปกรณ์ใดมาใช้เป็นส่วนประกอบของตัวรถ แล้วสร้างรถแข่งตามที่ได้ออกแบบไว้ ผู้สอนควรดูแล ตรวจสอบและ

ช่วยเหลือการทำ

�งานของผู้เรียนให้เป็นไปตามกระบวนการเทคโนโลยีและคำ

�นึงถึงความปลอดภัย

5. ขั้นทดสอบ

หลังจากที่แต่ละกลุ่มสร้างรถแข่งเสร็จแล้ว ให้ทดสอบว่ารถสามารถวิ่งได้หรือไม่ และวิ่งได้ไกลตามที่ต้องการหรือไม่

6. ขั้นปรับปรุงแก้ไข

รถของกลุ่มไหนทดสอบแล้วไม่วิ่งหรือวิ่งได้ไม่เป็นไปตามที่ต้องการ ต้องแก้ไขหรือปรับปรุงให้ดีขึ้น

7. ขั้นประเมินผล

7.1

แต่ละกลุ่มประเมินผลงานของตนเองว่าได้รถแข่งที่สามารถวิ่งไปได้ไกลตามที่ต้องการหรือไม่ จากนั้นให้แต่ละกลุ่มนำ

�เสนอผลงาน

7.2

ผู้สอนจัดแข่งขันรถแข่งมาราธอนว่ากลุ่มไหนวิ่งได้ไกลที่สุด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผลของกิจกรรม

รูปตัวอย่างรถแข่งมาราธอน

บรรณานุกรม

Hacker, M . & Barden, R. (1992).

Technology in Your World

(2nd edition). The United Stated

of America. Glencoe / McGraw-Hill.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ. (2554).

หนังสือเรียนรายวิชา

พื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6

. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค.

ลาดพร้าว.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ. (2554).

หนังสือเสริมการเรียนรู้

การออกแบบและเทคโนโลยี

. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.