Previous Page  36 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 36 / 62 Next Page
Page Background

36

นิตยสาร สสวท.

วัสดุอุปกรณ์ :

โคมไฟ กระดาษ A4 สีขาว กล้องถ่ายรูป

กระดาษเทากลาง

18%

* คอมพิวเตอร์และโปรแกรม Photoshop

ขั้นตอนที่หนึ่ง : การถ่ายภาพ

1. เตรียมวัสดุตัวอย่างที่ต้องการศึกษาการเปลี่ยนสี ในที่นี้

ขอใช้กล้วยเป็นต้นแบบ โดยท�

ำการเลือกด้านที่จะถ่ายภาพ และเขียน

ตัวอักษรก�

ำกับให้ชัดเจน

2. จัดสตูดิโออย่างง่ายโดยการม้วนกระดาษสีขาว 2-3 แผ่น

เพื่อเป็นกระบอกกระจายแสง รองพื้นด้านล่างเพื่อวางวัตถุด้วย

กระดาษสีขาว และจัดโคมไฟด้านบน ดังรูปที่ 1

3. ในการถ่ายภาพ ให้วางกล้วย กระดาษเทากลาง พร้อม

ทั้งป้ายบอกรายละเอียดไว้ภายในกระบอกกระจายแสง ดังรูปที่ 1

4. ปรับต�

ำแหน่งโคมไฟให้แสงส่องอย่างทั่วถึง แล้วจึง

ถ่ายภาพในลักษณะที่ขนานกับพื้น ซึ่งภาพที่ได้จะมีลักษณะ

ดังตัวอย่างในรูปที่ 2

รูปที่ 1 การจัดสตูดิโออย่างง่ายเพื่อการถ่ายภาพ

พรลดา ลิขสิทธิ์วัฒนกุล

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จ.นครปฐม

นักเรียนรางวัลเหรียญทองการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ ปี 2556 . / e-mail :

fonlik@gmail.com

หมายเหตุ * กระดาษเทากลาง

18%

คือ กระดาษที่มีสี ด�

ำ ขาว และเทา 18% ใช้ปรับแสงสีให้เป็นมาตรฐาน สามารถพิมพ์ออกมาใช้เองได้ ลองค้นค�

ำว่า “grey card

18%

หรือโหลดตามลิงก์นี้

https://www.dropbox.com/s/9jh3m712c9r4lw4/GreyCard.jpg

+ ขาตั้งกล้อง (ถ้ามี)

การติดตามการเปลี่ยนสีของผลไม้และใบไม้ที่มีรูปแบบการเปลี่ยนสี

ต่างกันในแต่ละต�

ำแหน่งโดยการเทียบแถบสี (colour chart) อาจท�

ำให้

การบันทึกผลการทดลองและการเปรียบเทียบผลการศึกษาไม่ครอบคลุม

และชัดเจน วันนี้ผู้เขียน ขอน�

ำเสนอวิธีการบันทึกการเปลี่ยนสีของผล

ไม้โดย “เทคนิคการซ้อนภาพถ่าย”ด้วยโปรแกรมPhotoshop เพื่อแสดง

ให้เห็นถึงการเปลี่ยนสีของส่วนต่าง ๆ อย่างชัดเจน

เรามาติดตามการเปลี่ยนแปลงของกล้วยน�้

ำว้าซึ่งตามธรรมชาติต้อง

ใช้เวลาในการเปลี่ยนสีประมาณ 1 สัปดาห์