

35
ปีที่ 42 ฉบับที่ 189 กรกฎาคม - สิงหาคม 2557
ภาพอากาศยานไร้คน
ขับ MQ 9 Reaper
ของสหรัฐอเมริกา
ขณะยิงจรวด
(ที่มา: http://
dronewars.net/aboutdrone)
ท่านผู้อ่านคิดว่าในอนาคตสายการบินจะสามารถน�
ำระบบ
ไร้นักบินนี้มาให้บริการได้หรือไม่ ท่านคงมีค�
ำถามตามมาว่า
แล้วใครล่ะจะกล้าใช้บริการ มีนักบินน่าจะอุ่นใจกว่า แต่ใครที่เคย
ใช้บริการรถไฟฟ้าของญี่ปุ่นในกรุงโตเกียวที่วิ่งไปยังย่านโอไดบะ
คงทราบว่ารถไฟฟ้าเส้นนี้ไม่มีพนักงานขับรถ แต่ใช้การควบคุม
จากศูนย์ควบคุม ดังนั้นหากมีการพัฒนาด้านความปลอดภัยและ
สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้โดยสาร ไม่แน่ว่าอาจจะมีสายการบิน
ที่ไร้นักบินเกิดขึ้นก็ได้
รถไฟฟ้าสาย
Yurikamome ของญี่ปุ่น
ไม่ใช้พนักงานขับรถ
(ที่มา: http://
wikimapia.
org/685476/
Odaiba-Kaihin-
Koen-Station)
อากาศยานโจมตีไร้นักบิน แบบ X 47B
X 47B เป็นส่วนหนึ่งของโครงการสาธิตระบบอากาศยาน
โจมตีไร้นักบินประจ�
ำเรือบรรทุกเครื่องบิน (Unmanned Combat
Air System Carrier Demonstration หรือ UCAS-D)
ของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนา
อากาศยานสาธิตแบบไร้คนขับประจ�
ำเรือบรรทุกเครื่องบิน
โดยความพิเศษของ X 47B คือ สามารถท�
ำการบินได้ด้วยตนเอง
ตั้งแต่บินขึ้นเดินทางไปปฏิบัติการจนกระทั่งบินลงจอดโดยไม่ต้องใช้
นักบินหรือคนควบคุมแต่อย่างใด เรียกว่าแค่ป้อนโปรแกรมให้กับ
คอมพิวเตอร์ควบคุมเครื่องบินเท่านั้น หลังจากนั้นตัวเครื่องบิน
จะด�
ำเนินการเองทั้งหมด จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีนี้มีความก้าวหน้า
มากกว่า UAV แบบอื่นๆ นอกจากการบินได้ด้วยตัวเองแล้ว ยังได้รับ
การออกแบบให้มีรูปร่างที่ลดการถูกตรวจจับด้วยเรดาร์ ท�
ำให้
สามารถบินไปปฏิบัติการในดินแดนข้าศึกโดยไม่ถูกตรวจจับ โดย
ในวันที่ 14 พฤษภาคม 2556 ถือเป็นวันประวัติศาสตร์ของ
การบินโลกอีกครั้งหนึ่ง เมื่อ X 47B ประสบความส�
ำเร็จในการ
บินขึ้นจากเรือบรรทุกเครื่องบินจอร์จ ดับเบิลยู บุช
หลังจากขั้นตอนนี้จะมีการทดสอบและประเมินค่าขีดความ
สามารถอีกหลายรายการ และเนื่องจากเป็นโครงการเพื่อสาธิต
เทคโนโลยี หากได้รับความเห็นชอบให้พัฒนาเพื่อน�
ำเข้าประจ�
ำการ
ก็คาดว่าจะสามารถเข้าประจ�
ำการได้ในปี พ.ศ. 2562 ผู้เขียนคิดว่า
ในอนาคตหากเราใช้แนวคิดเทคโนโลยีของ X 47B มาใช้ในการ
ส่งพัสดุก็น่าจะดีไม่น้อย ลองจินตนาการว่าในอนาคตบ้านแต่ละหลัง
จะมียานบังคับขนาดเล็กที่ใช้ส�
ำหรับขนส่งสิ่งของหรือพัสดุ
เพียงแค่เราป้อนข้อมูลสถานที่ที่ต้องการไปส่งพัสดุลงในโปรแกรม
หรือ application ในโทรศัพท์มือถือ ยานบังคับนี้ก็จะน�
ำพัสดุ
ไปส่งให้ถึงที่หมาย ต่อไปเราอาจจะไม่ต้องเดินทางไปส่งพัสดุที่
ไปรษณีย์แล้วก็เป็นได้ แล้วท่านผู้อ่านล่ะครับได้แนวคิดอะไรบ้าง
จากเทคโนโลยีของ X 47B นี้
หากมองในแง่มุมหนึ่ง สงครามเป็นตัวเร่ งที่ท�
ำให้ เกิด
เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ เป็นแรงจูงใจที่ท�
ำให้มนุษย์
พยายามคิดค้นเพื่อครองความเหนือกว่า ใครมีเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมที่ดีกว่าและมากกว่าก็ย่อมจะได้เปรียบ หากผู้คิดค้น
ได้น�
ำเทคโนโลยีเหล่านี้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�
ำวันของ
ประชาชนทั่วไปก็เชื่อได้ว่าเราจะได้รับประโยชน์อย่างมากมายแน่นอน
ภาพ X 47B
(ที่มา: http://northafricapost.
com/3649-us-navy-first-x-47b-
drone-launch.html)
X 47B ก�
ำลังบินขึ้นจากเรือบรรทุก
เครื่องบินเป็นครั้งแรก
(ที่มา:
http://www.dailymail.co.uk/news/article-2324571/U-S-
Navys-X-47B-stealth-drone-launches
-aircraft-carrier-time--critics-warn-
heralds-rise-killer-robots.htm)l
บรรณานุกรม
HUDWAY. สืบค้นเมื่อ23พฤศจิกายน2556,จา
กhttp://www.hudwayapp.comPILOT 984. (2556). MQ9 Reaper.
นิตยสารแทงโก,
254 (พฤศจิกายน 2556),
19–22.
X 47B. สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2556, จาก
http://www.naval-
technology.com/projects/x-47b-unmanned-combat-air-system-carrier-ucas/
พัฒนาการเทคโนโลยีทางทหาร. สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2556,
จา
กhttp://ndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military-Science-54/chapter3-8.pdf