Previous Page  32 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 32 / 62 Next Page
Page Background

32

นิตยสาร สสวท.

กิจกรรมเรื่อง ‘ความน่าจะเป็น’ ส�

ำหรับผู้เรียนระดับชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้แนะน�

ำไปทั้งสองกิจกรรมนี้ เป็นตัวอย่าง

ที่แสดงให้เห็นถึงการปรับแนวทางการจัดการเรียนการสอน

จากการเริ่มต้นด้วยเนื้อหาทางทฤษฎีก่อนน�

ำไปสู่การประยุกต์ใช้

มาเป็นการเริ่มต้นด้วยปัญหาที่กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดและประเมิน

สถานการณ์เพื่อตัดสินใจด้วยตนเอง ก่อนที่ผู้เรียนจะเป็นฝ่ายออกแบบ

วิธีในการแก้ปัญหานั้น ๆ ซึ่งวิธีการแก้ปัญหาเหล่านี้นี่เองที่จะน�

ไปสู่การสร้างองค์ความรู้ที่ผู้สอนต้องการ

การเปิดโอกาสให้ผู้เรียน

ได้คิดหาวิธีแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงนับเป็นหลักส�

ำคัญ

ประการหนึ่งของการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา

ซึ่งถึงแม้จะยังไม่มี

การบูรณาการเนื้อหาเข้ากับสาขาวิชาอื่น ๆ มากนัก

(นอกเหนือจากในส่วนของการใช้การทดลองซึ่งมีความใกล้เคียงกับ

การทดลองในวิชาวิทยาศาสตร์)แต่กิจกรรมเหล่านี้ก็สามารถ

แสดงให้เห็นถึงประโยชน์ของการน�

ำหลักการทางคณิตศาสตร์

ไปใช้ในโลกของความเป็นจริงได้ โดยหลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม

เหล่านี้แล้วผู้สอนอาจร่วมกันสรุปกับผู้เรียนว่า การโยนเหรียญ

หรือการโยนลูกเต๋ามีจุดร่วมที่เหมือนกันอย่างไร และจะมีขั้น

ตอนและวิธีในการวางแผนเพื่อคาดการณ์ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น

อย่างไรบ้าง ซึ่งจะเป็นการน�

ำเข้าสู่เนื้อหาเชิงทฤษฎี เช่น บท

นิยามของ ‘การทดลองสุ่ม’‘เหตุการณ์’ รวมทั้ง สูตรทั่วไปของ

ความน่าจะเป็นต่อไปในภายหลัง ท�

ำให้ผู้เรียนสามารถตระหนักถึง

บทนิยามและหลักการต่าง ๆ เหล่านี้ได้ดียิ่งขึ้น เนื่องจากสามารถ

มองเห็นภาพจากกิจกรรมที่ได้ร่วมลงมือท�

ำในชั้นเรียนก่อนหน้านี้แล้ว

การเรียนรู้เรื่อง ‘ความน่าจะเป็น’ ในกิจกรรมเหล่านี้จึง

เป็นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ไม่ได้เป็นการใช้ทฤษฎีค�

ำนวณหา

ความน่าจะเป็นออกมา โดยไม่เห็นถึงประโยชน์ว่าจะน�

ำไปใช้ท�

ำอะไร

และที่ส�

ำคัญคือผู้เรียนทุกคนจะมีโอกาสได้สนุกสนานจาก

การลงมือปฏิบัติ รวมทั้งได้ร่วมลุ้นไปตลอดกิจกรรมว่าค�

ำตอบที่ตัวเอง

คาดการณ์ไว้จะใกล้เคียงกับผลลัพธ์ที่ก�

ำลังจะเกิดขึ้นหรือไม่

อย่างใจจดใจจ่อ . . .

บรรณานุกรม

Bybee, R. W. (2011). Scientific and Engineering Practices in K-12 Classrooms: Understanding A Framework for K-12 Science

Education.

Science Teacher

.

78

(9), 34-40.

Katehi, L., Pearson, G. and Feder, M. (2009).

Engineering in K-12 Education: Understanding the Status and Improving

the Prospects.

Washington, D.C.: National Academies Press.

Piaget, J. (1972).

The Principle of Genetic Epistemology.

London: Routledge & Kegan Paul.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ. (2554).

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ (2555).

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

แต่อย่างน้อยที่สุดการทดลองด้วยตนเองก็ท�

ำให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม

ในการสร้างองค์ความรู้โดยตรง และสามารถมองเห็นปัจจัยต่าง ๆ

ที่เชื่อมโยงกันได้อย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น ดังนั้นผู้สอนไม่จ�

ำเป็น

ต้องวิตกว่าผลการทดลองจริงอาจไม่สอดคล้องกับความน่าจะเป็น

ทางทฤษฎี เพราะสถานการณ์นี้อาจใช้เป็นตัวอย่างในการอธิบาย

ถึงช่องว่างและความต่างในการน�

ำทฤษฎีมาใช้ในการปฏิบัติให้

นักเรียนเข้าใจอย่างเป็นประโยชน์ได้

จากกิจกรรม “ลูกเต๋ารวมพลัง” นี้ ผู้สอนอาจน�

ำมา

ดัดแปลงเป็นกิจกรรม “ผลต่างระหว่างเต๋า” ในคาบเรียนต่อไป

ซึ่งมีกติกาคล้าย ๆ กัน เพียงแต่เปลี่ยนค�

ำถามจาก

ผลรวม

ใด

จะมีโอกาสเกิดขึ้นมากที่สุด มาเป็น

ผลต่าง

ใดจะมีโอกาสเกิด

ขึ้นมากที่สุด เพื่อเป็นการประเมินด้วยว่า นักเรียนสามารถน�

หลักการเรื่องความน่าจะเป็นที่เรียนมาแล้ว ไปปรับใช้กับ

สถานการณ์ใหม่ ๆ ด้วยตนเองได้หรือไม่

ขอขอบคุณ อาจารย์ นิติกาญจน์ ไกรสิทธิพัฒน์ และ

อาจารย์ ศิริบุญ อักษรกิตติ์จากโรงเรียนปทุมคงคา

ส�

ำหรับค�

ำแนะน�

ำในการวางแผนและการทดลองกิจกรรม