

37
ปีที่ 42 ฉบับที่ 189 กรกฎาคม - สิงหาคม 2557
รูปที่ 2 ภาพกล้วยที่ได้จากกล้องถ่ายรูป
5. ท�
ำการถ่ายภาพกล้วยลูกเดิม ในเวลาต่าง ๆ เช่นทุก ๆ
12 ชม. เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงสี โดยพยายามถ่ายภาพให้
ได้ต�
ำแหน่งเดิมมากที่สุดหรือการแสดงเส้น grid บนกล้องถ่ายรูป
เพื่อให้การซ้อนภาพเป็นไปได้ง่าย
ขั้นตอนที่สอง : การประมวลภาพถ่าย
1. เลือกภาพถ่ายของกล้วยจากช่วงเวลาต่าง ๆ แล้วเปิด
ภาพเหล่านั้นในโปรแกรม Photoshop
2. ปรับแสงสีของแต่ละภาพให้มีมาตรฐานเดียวกัน โดย
เลือกค�
ำสั่ง Image > Adjustment > Curve โดยให้สังเกตเครื่อง
มือดูดสี (eyedropper) ในกรอบ ซึ่งจะเห็นว่ามี
3 ชิ้น เมื่อกดเครื่องมือดูดสีด�
ำ ให้คลิกที่สีด�
ำของกระดาษเทา
กลางในภาพถ่าย จากนั้นด�
ำเนินการในท�
ำนองเดียวกันกับเครื่องมือ
ดูดสีเทาและขาว ท�
ำเช่นนี้กับทุกภาพที่เลือกไว้
3. เปิดหน้าต่างใหม่ (Ctrl+N) จากนั้นย้ายทุกภาพให้มา
อยู่ในหน้าต่างเดียวกัน ตั้งชื่อเลเยอร์ และเรียงล�
ำดับโดยให้ภาพ
ที่ถูกถ่ายก่อนอยู่ด้านบน ดังรูปที่ 3
รูปที่ 3 การจัดเรียงเลเยอร์
ของภาพโดยให้รูปที่ถูกถ่าย
ก่อน(สีเขียว)อยู่เลเยอร์บนสุด
ส่วนรูปที่ถ่ายทีหลัง(สีเหลือง)
อยู่เลเยอร์ล่างถัดกันมา
4. ท�
ำการตัดพื้นหลังออก โดยใช้เครื่องมือMagneticLassoTool
ลากตามขอบของผลกล้วย หลังจากนั้นใช้ค�
ำสั่ง Select > Invert
และกด Delete จะได้รูปกล้วยเปลือย ๆ ดังรูปที่ 4 และให้ท�
ำ
เช่นนี้กับทุกเลเยอร์
รูปที่ 4 การใช้เครื่องมือ Magnetic Lasso Tool ตัดพื้นหลัง
5. จัดเรียงภาพในแต่ละเลเยอร์ให้ตรงกัน แล้วใช้ค�
ำสั่ง Edit >
Auto-Align Layers เลือกแบบ Auto จะเห็นว่าภาพกล้วยใน
แต่ละเลเยอร์มาซ้อนทับกันสนิท ดังรูปที่ 5
รูปที่ 5 รูปกล้วยมาซ้อนทับกันตามค�
ำสั่ง
Auto-Align Layers