

ของครูทั่วประเทศน่าจะใกล้เคียงกัน ส่วนหลักสูตรนั้นก็เป็นไป
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
ของกระทรวงศึกษาธิการด้วยกัน
PISA (Programme for International Student Assess-
ment) เป็นโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ
ที่ด�
ำเนินการโดยองค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทาง
เศรษฐกิจ หรือ OECD (Organisation for Economics
Co-operation and Development) ซึ่งเป็นองค์กรของประเทศ
ที่พัฒนาแล้ว หรือนั่นคือเป็นประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยต่อหัว
ประชากรสูง และในปีพ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) มีสมาชิก 34 ประเทศ
PISA ประเมินความรู้และทักษะของนักเรียนที่มีอายุ 15 ปี
ในด้าน 3 ด้าน ด้วยกัน คือ การรู้เรื่องการอ่าน (Reading literacy)
การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical literacy) และการรู้เรื่อง
วิทยาศาสตร์ (Scientific literacy)
PISA 2012 ได้ประเมินความรู้และทักษะของนักเรียนใน
65 ประเทศ ประกอบด้วย ประเทศสมาชิก OECD 34 ประเทศ
และประเทศที่ไม่เป็นสมาชิก OECD และสมัครเข้าร่วมโครงการ
31 ประเทศ รวมประเทศไทย (นับรวม 3 จังหวัดของประเทศจีน
คือ เซี่ยงไฮ้ มาเก๊า และฮ่องกง ที่แต่ละแห่งมีความอิสระใน
การจัดการศึกษาของตนเอง)
PISA Thailand รับผิดชอบโดยสถาบันส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และได้แยกประเมินผล
คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนในกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มในกลุ่มโรงเรียนต่าง ๆ
รวมทั้งนักเรียนของกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย 12 แห่งด้วย
ความส�
ำคัญและผลกระทบต่อประเทศของผลการประเมิน PISA
• ด้วยประเทศที่พัฒนาแล้ว เป็นสมาชิกของ OECD และได้
ยึดผลการประเมิน PISA เปรียบเทียบคุณภาพการศึกษาระหว่างกัน
ตลอดมา และองค์กรต่าง ๆระดับโลก เช่นธนาคารโลก (WorldBank)
WEF (World Economic Forum) IMD (International Institute
for Management Development) ฯลฯ ได้ยึด “ผลการ
ประเมิน PISA” เป็น “ตัวแปร (Variable)” ที่ส�
ำคัญในการ
ประเมินศักยภาพของการพัฒนาก�
ำลังคนของแต่ละประเทศ เพื่อ
น�
ำไปประกอบเป็นตัววัด “ระดับความสามารถในการแข่งขันในโลก
(World Competitiveness)” ของประเทศต่าง ๆ
การประเมินผล PISA 2012
4
นิตยสาร สสวท.
• จ�
ำนวนจังหวัดที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงและค่าเฉลี่ยของ
คะแนนรวมของจังหวัดเหล่านี้อยู่ในระดับเดียวกับของ OECD ได้แก่
Mathematical literacy 15 จังหวัด
Scientific literacy 14 จังหวัด
Reading literacy 14 จังหวัด
จังหวัดเหล่านี้ประกอบด้วย กรุงเทพฯ ก�
ำแพงเพชร จันทบุรี
ชลบุรี นครปฐม นครนายก พะเยา เพชรบุรี พิษณุโลก ภูเก็ต
ร้อยเอ็ด เลย ล�
ำปาง มหาสารคาม สมุทรสงคราม สมุทรปราการ
สุโขทัย สุพรรณบุรี สุราษฎร์ธานี และอุตรดิตถ์ เป็นการยืนยันว่า
มีนักเรียนที่มีศักยภาพและโรงเรียนที่มีคุณภาพทัดเทียมกับ
ของประเทศในกลุ่ม OECD กระจายอยู่ในทุกภูมิภาคของประเทศ
• จ�
ำนวนจังหวัดเหล่านี้มีประมาณ 20 จังหวัด ซึ่ง
ประมาณได้ว่าเป็น 25% ของ 77 จังหวัดทั้งประเทศ ที่มีคะแนน
เฉลี่ยอยู่ในระดับเดียวกับของประเทศ OECD ด้วยหลักสูตรที่ใช้
สอนอยู่ในปัจจุบัน และศักยภาพของครูผู้สอนที่มีอยู่
• คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนและโรงเรียนที่สุ่มตัวอย่าง
ทั่วประเทศตามหลักเกณฑ์ของ PISA ต�่
ำกว่าคะแนนเฉลี่ย
ของ34ประเทศที่เป็นสมาชิกของOECDมาก เป็นเพราะคะแนนเฉลี่ย
ของนักเรียนและโรงเรียนอีก 75% อยู่ในระดับต�่
ำถึงต�่
ำมาก
ได้ฉุดให้คะแนนเฉลี่ยรวมของประเทศต�่
ำลง
Mathe
matical
literacy
Scientific
literacy
Reading
literacy
1. กลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย 12 แห่ง
570
565
554
2. กลุ่มสมาชิก 34 ประเทศของ OECD 494
501
496
3. กลุ่มโรงเรียนที่สุ่มตัวอย่าง
ทั่วประเทศไทย
423
441
444
คะแนนเฉลี่ย
• จึงพอสรุปได้ว่า ผลการประเมิน PISA 2012 ของการ
สุ่มตัวอย่างนักเรียนและโรงเรียนทั่วประเทศที่อยู่ในระดับต�่
ำกว่า
ของ OECD ไม่ได้มาจากความด้อยคุณภาพของหลักสูตรและ
ทักษะของครูเพราะคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนในโรงเรียนใน
จังหวัดต่าง ๆ ในทุกภาคของประเทศ ประมาณ 25% อยู่ในระดับ
เดียวกับประเทศ OECD เพียงแต่คะแนนเฉลี่ยในโรงเรียนใน
จังหวัดต่าง ๆ 75% ของประเทศอยู่ในระดับต�่
ำ ซึ่งสาเหตุหลัก
น่าจะมาจาก “คุณภาพของการบริหารจัดการ” เพราะคุณภาพ