Previous Page  10 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 10 / 62 Next Page
Page Background

กิจกรรมช่วยเหลือนกเพนกวิน เป็นตัวอย่างกิจกรรมสะเต็ม

ที่สามารถฝึกกระบวนการคิดของผู้เรียน

การส่งเสริมการคิดไม่ว่าจะเป็นการคิดในระดับใดก็ตาม

ย่อมต้องอาศัยการฝึกฝน นอกจากการฝึกฝนผ่านการแก้ไขปัญหา

หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจ�

ำวันแล้ว การเรียนรู้ในห้องเรียน

ยังเป็นวิธีการหนึ่งที่ท�

ำให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการคิดโดยผู้สอนต้องจัด

กิจกรรมให้เหมาะสมกับระดับความรู้และบริบทของผู้เรียน

เพื่อส่งเสริมให้เกิดการคิดขั้นสูง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สามารถ

ยกระดับการคิดขั้นสูงของผู้เรียนมีหลากหลายวิธี สะเต็มศึกษา

เป็นวิธีการหนึ่งซึ่งนอกจากช่วยยกระดับการคิดขั้นสูงของผู้เรียนแล้ว

ยังมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้บูรณาการความรู้จากสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

ร่วมกับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์

มาใช้ในการแก้ปัญหาและสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ และผู้เรียนสามารถ

น�

ำสิ่งที่ได้เรียนไปประยุกต์ในชีวิตจริงหรือเชื่อมโยงกับวิชาชีพได้

บรรณานุกรม

Bybee, R. (2010). Advancing STEM Education: A 2020

Vision.

Technology and Engineering Teacher, 70

(1), 30 - 35.

Duke University. (2014). Hands-on activity: Building roller

coasters. สืบค้นเมื่อ 9 เมษายน 2557, จาก http://www.

teachengineering.org.

Hagerty, J. & Rockaway T., (2012). Adapting entry-level

engineering courses to emphasize critical thinking.

Journal of STEM Education,

13

(12), 25-34.

Moore, J. W. (2007). Critical needs of STEM Education.

Journal of Chemical Education, 84

(12), 1895.

Sbenaty, S. (2000). I want my pizza hot.

Journal of

STEM Education, 1

(1), 16-23.

ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการคิด. กรุงเทพมหานคร:

ห้างหุ้นส่วนจ�

ำกัด 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

รักษพล ธนานุวงศ์. (2556). เรียนรู้สภาวะโลกร้อนด้วย STEM

Education แบบบูรณาการ.

นิตยสาร สสวท, 41

(182), 15-20.

อุษณีย์ อนุรุทธ์วงศ์. (2556). ทักษะความคิด: พัฒนาอย่างไร.

กรุงเทพมหานคร: อินทร์ณน.

10

นิตยสาร สสวท.