Previous Page  8 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 8 / 62 Next Page
Page Background

8

นิตยสาร สสวท.

1.2 การคิดสร้างสรรค์

การคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถในการมองเห็นประเด็น

ของปัญหา หรือการเชื่อมโยงความคิดเดิมกับจินตนาการ

แล้วสร้างเป็นความรู้ ความคิด หรือชิ้นงานใหม่ของตนเอง

โดยใช้กลยุทธ์ทางความคิดที่หลากหลายทั้งการวิเคราะห์ประเด็น

การคิดนอกกรอบ การคิดริเริ่มและการสร้างสรรค์ผลงานหรือ

สิ่งใหม่ ๆ ที่เหมาะสมต่อการใช้งานได้

1.3 การคิดอย่างมีวิจารณญาณ

การคิดอย่ างมีวิจารณญาณเป็นความสามารถในการ

วิเคราะห์และตัดสินเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยยึดตามหลักฐานเชิง

ประจักษ์ เป็ นส�

ำคัญ ดังนั้นการคิดในลักษณะนี้ถือเป็ น

ความสามารถในการวิเคราะห์ แปลความหมาย ประเมินค่า สรุป

และสังเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ และใช้ผลลัพธ์ในการแก้ไขปัญหา

หรือตัดสินใจ หรือเลือกใช้วิธีการได้เหมาะสม นอกจากนี้การคิด

อย่างมีวิจารณญาณยังรวมการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบการ

ตัดสินใจเลือกใช้วัสดุ หรือวิธีการที่ท�

ำให้เกิดความคุ้มค่ามากที่สุด

การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมสะเต็มเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วย

ให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ และ

การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งจะได้อธิบายต่อไป

2. สะเต็มศึกษากับการพัฒนาการคิดขั้นสูงของผู้เรียน

เมื่อค�

ำว่า STEM Education (สะเต็มศึกษา) ได้ปรากฏ

สู่สาธารณชนในช่วงปลายปี ค.ศ. 1990 โดย National Science

Foundation (NSF) ค�

ำศัพท์ค�

ำนี้ได้รับความสนใจจากบุคคล

ในสายอาชีพต่าง ๆ เช่น นักพฤษศาสตร์เกิดความเข้าใจผิดคิดว่า

นักการศึกษาได้ให้ความส�

ำคัญกับการวิจัยบางส่วนของต้นพืชมาก

ขึ้น (stem = ล�

ำต้น) วิศวกรและนักเทคโนโลยีคิดว่าค�

ำศัพท์นี้

เกี่ยวข้องกับนาฬิกาข้อมือ (watch stem = ปุ่มด้านข้างนาฬิกา

ส�

ำหรับหมุนเข็ม) ในขณะที่นักการเมืองหัวโบราณเกิดความกังวล

เพราะเข้าใจว่านักการศึกษาได้สนับสนุนการศึกษาด้านสเต็ม

เซลล์หรือเซลล์ต้นก�

ำเนิดอย่างเป็นทางการ (stem cell = เซลล์

ต้นก�

ำเนิด)

สะเต็มศึกษาเป็นแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบ

หนึ่งที่มีส่วนคล้ายกับ

กระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะ

(inquiry

approaches)

ที่ผู้ เรียนต้องค้นหาและสร้างองค์ความรู้

ด้วยตนเอง ซึ่งคล้ายกับการแสวงหาความรู้ของนักวิทยาศาสตร์

ในขณะที่ครูหรือผู้สอนนั้น ท�

ำหน้าที่เป็นผู้อ�

ำนวยความสะดวก

(facilitator) และ

การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-

based learning)

ในแง่ของการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการ

แก้ปัญหาหรือสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ แต่จุดที่ต่างคือ

สะเต็มศึกษา

(STEM Education)

จะเน้นการบูรณาการหลักการและศาสตร์

ความรู้จาก 4 สาขา คือ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์

และ คณิตศาสตร์ เข้าด้วยกันดังที่ได้กล่าวไว้แล้วในข้างต้น

อย่างไรก็ตามการน�

ำหลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสะเต็ม

ศึกษาไปใช้ ควรต้องค�

ำนึงถึงความเหมาะสมและบริบทของผู้

เรียน โรงเรียน เนื้อหาวิชา รวมทั้งการคิดขั้นสูงที่ต้องการให้เกิด

กับผู้เรียนเป็นส�

ำคัญ

เพื่อให้มองภาพเกี่ยวกับสะเต็มศึกษาและการพัฒนาการคิด

ขั้นสูงของผู้เรียนเป็นรูปธรรมมากขึ้น ผู้เขียนขอยกตัวอย่าง

บทวิเคราะห์การคิดขั้นสูงจากตัวอย่างกิจกรรมสะเต็ม เรื่อง

ช่วยเหลือนกเพนกวิน ในนิตยสาร สสวท. ปีที่ 41 ฉบับที่ 182

พ.ศ. 2556 ในกิจกรรมนี้ผู้สอนเริ่มต้นกระบวนการสอนด้วยการ

ตรวจสอบความรู้เดิมของผู้เรียน รวมทั้งอธิบายให้ความรู้เกี่ยวกับ

สมบัติการถ่ายโอนความร้อนและการเป็นฉนวนความร้อนของ

วัสดุ ผ่านวิธีการ คาดคะเน สังเกต และอธิบาย (Predict Observe

Explain: POE) จากนั้นผู้สอนให้ผู้เรียนต่อยอดความรู้โดย

สร้างบ้านให้นกเพนกวิน โดยมีเงื่อนไขคือ

- เมื่อน�

ำน�้

ำแข็งที่ทราบน�้

ำหนัก มาวางไว้ในบ้านของ

นกเพนกวิน แล้วน�

ำไปส่องด้วยโคมไฟภายในเวลาที่ก�

ำหนด

น�้

ำหนักของน�้

ำแข็งหลังทดลอง ต้องมีค่าใกล้เคียงกับน�้

ำหนัก

ก่อนทดลองมากที่สุด

- ต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ให้คุ้มค่าและประหยัดมากที่สุด

ซึ่งในกิจกรรมนี้ ผู้สอนให้งบประมาณแต่ละกลุ่มในการสร้างบ้านให้

นกเพนกวินในวงเงินที่เท่ากัน จากนั้นผู้เรียนต้องน�

ำเงินไปซื้อวัสดุ

อุปกรณ์ที่ผู้สอนเตรียมและตั้งราคาไว้แล้วและเมื่อซื้อวัสดุอุปกรณ์มาแล้ว

จะต้องใช้เพราะผู้สอนไม่รับคืนแต่ถ้าไม่ใช้จะมีการหักคะแนนความคุ้มค่า

- มีความเป็นไปได้ในการน�

ำแบบจ�

ำลองที่สร้างไปขยายให้เท่า

ขนาดจริง (scale up)

- บ้านนกเพนกวินต้องสวยงามและมีความคิดสร้างสรรค์