Previous Page  5 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 5 / 62 Next Page
Page Background

• ผลการประเมิน PISA มีบทบาทส�

ำคัญ และเป็นตัวแปร

ส�

ำคัญตัวหนึ่งที่บริษัทข้ามชาติใช้ในการเปรียบเทียบศักยภาพ

ของก�

ำลังคนระหว่างประเทศ ส�

ำหรับการตัดสินใจในการเลือก

ประเทศที่จะมาลงทุนทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรม

ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงที่ต้องการก�

ำลังคนที่มีศักยภาพ

• ดังนั้น การพัฒนาการบริหารจัดการกระตุ้นให้โรงเรียน

ต่าง ๆ ให้ความสนใจกับการประเมิน PISA เพื่อให้นักเรียนพัฒนา

ตัวเองให้พร้อมส�

ำหรับการประเมิน PISA ก็จะท�

ำให้ได้ค่าเฉลี่ย

ของผลการประเมิน PISA สูงขึ้น ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งที่จะท�

ำให้

ตัววัดระดับความสามารถในการแข่งขันระหว่างประเทศของ

ประเทศไทยสูงขึ้นก็จะท�

ำให้มีการลงทุนมากขึ้น เศรษฐกิจของ

ประเทศก็จะดีขึ้น

• เมื่อพิจารณาลึกลงไปถึงผลคะแนนที่นักเรียนในโรงเรียน

ที่สุ่มตัวอย่างในแต่ละจังหวัดจะเห็นว่ามีความแตกต่างของ

คะแนนระหว่างโรงเรียนต่าง ๆ ในแต่ละจังหวัดอย่างชัดเจน

จึงเป็นสิ่งท้าทายอย่างยิ่งที่ต้องมีการพัฒนาบริหารการศึกษาของ

กลุ่มโรงเรียนในแต่ละจังหวัดให้มีศักยภาพใกล้เคียงกัน ซึ่งจะ

ท�

ำให้คะแนนเฉลี่ยของการประเมิน PISA สูงขึ้น แต่ก็เป็นเพียง

เรื่องการสร้างระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

ในระดับนานาชาติ

• ความนิยมโรงเรียนของผู้ปกครองในแต่ละจังหวัด เป็นเหตุ

ให้มีการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานกระจุกตัวอยู่แต่ในโรงเรียน

หลักของจังหวัด ด้วยผู้ปกครองมีเป้าหมาย ให้นักเรียนมีความ

สามารถในการสอบแข่งขันเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยชั้นน�

และในสาขาวิชาชีพที่ดีให้ ได้ ส่ วนคะแนนเฉลี่ยสูงของ

การประเมินผล PISA นั้นเป็นผลในระดับประเทศ ไม่ได้ตอบ

ความต้องการของผู้ปกครองแต่ละคน จึงไม่เป็นที่สนใจของ

ผู้ปกครอง ดังนั้น จึงเป็นสิ่งท้าทายที่จะต้องบริหารจัดการการ

ศึกษาให้ความนิยมของผู้ปกครองกระจายไปตามโรงเรียนต่าง ๆ

ในแต่ละจังหวัด

ในระดับบุคคลในโรงเรียนควรจะได้มีการทบทวน เพื่อให้ครูที่อยู่

ในปลายน�้

ำ (downstream) ของกระบวนการบริหารจัดการ มี

“ส่วนร่วม” ในการพัฒนานักเรียนในมิติต่าง ๆ เพื่อน�

ำไปสู่เป้าหมาย

ของประเทศในภาพรวม

• การสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียน ไม่ควรด�

ำเนินการแบบ

ปูพรมดังเช่นที่เป็นอยู่ ควรเน้นให้การสนับสนุนโรงเรียนในกลุ่ม

75% เป็นพิเศษ ผลที่ประเทศจะได้รับ ก็คือ จะท�

ำให้ช่องว่างของ

ความเจริญระหว่างส่วนต่าง ๆ ของประเทศลดลงและคุณภาพชีวิต

ของคนทั่วประเทศจะไม่แตกต่างกันมากนัก

• ต�

ำแหน่งสูงสุดของโรงเรียน ควรจะเป็น “ครูใหญ่(Head

Master)” หรือ “อาจารย์ใหญ่ (Principal)” รับผิดชอบแผนงาน

วิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องเป็นผู้ที่มีผลงานการสอนที่ดี

เป็นนักวิชาการ ที่สามารถเป็นต้นแบบให้กับครูได้ จะต้องคงมี

ภาระการสอนอยู่บ้างอย่างต่อเนื่อง เพื่อการสร้างพลังใจให้กับ

ครูและควรคัดเลือกมาจากผู้ที่มีผลงานการสอนที่ดี

• ต�

ำแหน่ง “ผู้อ�

ำนวยการ (Director)” น่าจะให้หมายถึง

“ผู้จัดการ (Manager)” ที่รับผิดชอบงานบริหารจัดการต่าง ๆ

ในโรงเรียนร่วมกับ ครูใหญ่ หรืออาจารย์ใหญ่ เพื่อสนับสนุน

การเรียนการสอนของโรงเรียน และควรจะเป็นต�

ำแหน่งที่อยู่ใน

ระดับต�่

ำกว่า อาจารย์ใหญ่ (Principal) ไม่ควรให้มาเป็นผู้จัดการ

เบ็ดเสร็จตั้งแต่งานวิชาการ ไปจนถึงงานบริหารอื่น ๆ

ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงการบริหารบุคคล

เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน

• วิธีการหนึ่ง คือ ต้องบริหารจัดการ ให้ครูผู้ที่มีความ

สามารถกระจายไปอยู่ในโรงเรียนต่าง ๆ ในแต่ละจังหวัด

ด้วยการให้ผลตอบแทนให้แก่ครูในโรงเรียนเป้าหมายเพิ่มขึ้น

มากกว่าครูที่อยู่ในโรงเรียนยอดนิยมของจังหวัด เพื่อให้ได้ผลที่

โรงเรียนเป้าหมายมีนักเรียนสามารถไปศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยชั้นน�

ก็จะท�

ำให้ความนิยมของผู้ปกครองกระจายไปอยู่ในโรงเรียนต่าง ๆ

มากขึ้นในแต่ละจังหวัด ในอันที่จะท�

ำให้มีผลการประเมิน PISA สูงขึ้น

ด้วย จากการสุ่มตัวอย่างนักเรียนและโรงเรียนตามเกณฑ์ของ OECD

• การศึกษาเป็นการพัฒนา “คน” ของประเทศ โดย “ครู”

ซึ่งก็เป็นคนเช่นกัน ดังนั้นกระบวนการบริหารจัดการ “ครู”

จึงมีความส�

ำคัญที่สุด ในการพัฒนาการศึกษาของประเทศ

การบริหารจัดการครู ตั้งแต่ระดับกระทรวง ในภาพรวม ไปจนถึงครู

ผลการประเมิน PISA กับการพัฒนาการบริหารจัดการ

ศึกษาพื้นฐานของไทย

5

ปีที่ 42 ฉบับที่ 189 กรกฎาคม- สิงหาคม 2557