Table of Contents Table of Contents
Previous Page  1 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 1 / 62 Next Page
Page Background

ปีที่ 43 ฉบับที่ 192 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2558

บรรณาธิการบริหาร

คณะ​ที่​ปรึกษา

​​

​ประธาน​กรรมการ​​สสวท​.​

​ผู้​อำ

�นวย​การ​​สสวท​.​

บรรณาธิการ​บริหาร​

​​

ขจรเดช บุตรพรม ​​​

ที่​ปรึกษา​กอง​บรรณาธิการ​​

รอง​ผู้​อำ

�นวย​การ​สสวท. ​​

ผู้​ช่วย​ผู้​อำ

�นวย​การ​สสวท. ​

หัวหน้า​กอง​บรรณาธิการ​​​

​พงษ์​เทพ​​บุญ​ศรี​โรจน์

​​

กอง​บรรณาธิการ​

​​​

ดร.กุศลิน มุสิกุล

ดร.จารุวรรณ แสงทอง

ดร.ชัยวุฒิ เลิศวนสิริวรรณ

ณรงค์ แสงแก้ว

ดุสิต สังข์ร่วมใจ

ถนิม ทิพย์ผ่อง

ธันยากานต์ ยืนตระกูลชัย

นวรัตน์ อินทุวงศ์

เบ็ญจวรรณ ศรีเจริญ

ประกายกานต์ ตรีอาภรณ์

ดร.ประสงค์ เมธีพินิตกุล

ผู้​ช่วย​กอง​บรรณาธิการ​​

ดร.สมชาติ ไพศาลรัตน์​

​นิลุบล​​กอง​ทอง​​

รัชนี​กร​​มณี​โชติ​รัตน์​

สินีนาฎ ทาบึงกาฬ

ดวงมาลย์ บัวสังข์

สิริมดี นาคสังข์

สุประดิษฐ์ รุ่งศรี

เจ้าของ

สถาบัน​ส่ง​เสริม​การ​สอน​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี​ ​

924​​ถนน​สุขุมวิท​แขวง​พระโขนง​​เขต​คลองเตย​​กทม​.​​10110​

โทร​.​0​-​2392​-​4021​​ต่อ​​3307​

Call Center: 0-2335-5222 ​​

(ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท.

หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง

โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย

จักเป็นพระคุณยิ่ง)

วัตถุประสงค์

1. เผย​แพร่​และ​ส่ง​เสริม​ความ​รู้​ทาง​ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์​และ​เทคโนโลยี​

ให้แก่​ครู​และ​ผู้​สนใจ​ทั่วไป

2. เผย​แพร่​กิจกรรม​และ​ผล​งาน​ของ สสวท.

3. เสนอ​ความ​ก้าวหน้า​ของ​วิทยาการ​ใน​ด้าน​การ​ศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์​

และ​เทคโนโลยี​ที่​จะสนับสนุน​การ​ศึกษา​ของ​ชาติ​ให้​ทัน​กับ​เหตุการณ์​ปัจจุบัน

4. แลก​เปลี่ยน​และ​รับ​ฟัง​ความ​คิด​เห็น​ต่าง ๆ เกี่ยว​กับความ​รู้​ทาง​ด้าน​วิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี​จาก​ครู​และ​ผู้​สนใจ​ทั่วไป

ปาริฉัตร พวงมณี

พรพจน์ พุฒวันเพ็ญ

ดร.รชยา ศรีสุริฉัน

ราม ติวารี

ดร.วนิดา ธนประโยชน์ศักดิ์

วราภรณ์ ต. วัฒนผล

สมเกียรติ เพ็ญทอง

สุพจน์ วุฒิโสภณ

ดร.สุพรรณี ชาญประเสริฐ

อุปการ จีระพันธุ

เปิดเล่ม สสวท.

“การเล่น”ทำ

�ให้รู้สึกเพลิดเพลินสนุกสนานเพราะเป็นกิจกรรม

ที่ทำ

�โดยไม่ต้องถูกบังคับ จึงเป็นกระบวนการพัฒนาเด็กทั้งทางด้าน

ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา การเล่นยังเป็น

การค้นพบเหตุผลและการคิดเชื่อมโยงระหว่างเด็กกับสังคมนำ

�ไปสู่

ภาวะความสมดุลทางอารมณ์...เล่มนี้มีเรื่องราวที่สำ

�คัญเกี่ยวกับ

การเล่น คือ “หุ่นยนต์บังคับมือ จากของเล่นกลายเป็นสื่อเรียนรู้”

โดยกิจกรรมนี้ทำ

�ให้รู้และเข้าใจถึงการนำ

�ความรู้เรื่องของวงจรไฟฟ้า

มาใช้ในการสร้างงาน ส่งเสริมให้เกิดการทำ

�งานเป็นระบบ นำ

�เสนอ

แนวคิดในการพัฒนาหุ่นยนต์ และการทำ

�งานเป็นทีม ด้วยการ

วางแผนที่ดี ตลอดจนการเลือกวัสดุที่เหมาะสมคำ

�นึงถึงสิ่งแวดล้อม

ภายในเล่มยังบรรจุแน่นไปด้วยกิจกรรมการลดปริมาณคาร์บอน

ส่งเสริมให้เยาวชนและนักเรียนได้มีส่วนร่วมคิดแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

เพื่อลดการปล่อยคาร์บอนสู่บรรยากาศอย่างมีเป้าหมายจึงไม่ควรพลาด

ที่จะศึกษาเรียนรู้...ยังไม่หมดแค่นั้น ยังมีเรื่องราวการจัดการเรียนรู้

ของศตวรรษที่ 21 โดยการเชื่อมโยงความรู้สู่ชีวิตจริงด้วย

กิจกรรมส่งเสริมบรรยากาศในห้องเรียนและเรื่องสนุกๆ เกี่ยวกับ

การแนะนำ

�ให้รู้จักกับ NASA App ที่รวบรวมเรื่องราวดาราศาสตร์

และอวกาศ ภาพวีดิทัศน์ รวมถึงข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับภารกิจ

ของยานต่าง ๆ อีกมากมาย อัดแน่นและเต็มเปี่ยมเสมอสำ

�หรับ

สาระที่เรามอบให้

ขณะเขียนเปิดเล่มนี้ ฤดูกาลกำ

�ลังย่างเข้าหน้าร้อนอย่างเร็วพลัน

ขอให้คุณผู้อ่านสนุกกับท้องฟ้าและอากาศของเดือนนี้เช่นเดียว

กับการอ่านเนื้อหาสาระของนิตยสาร สสวท. อย่างสบายอารมณ์

โดยมีความสนุกเป็นปฐมบทนะครับ เชิญพลิกหน้าต่อไปด้วยใจ

ที่เตรียมพร้อม กับนิตยสาร สสวท.ในมือคุณ สวัสดี