

10
นิตยสาร สสวท.
(ที่มา:
http://www.light2015.org/)(ที่มา:
http://www.light2015.org/)กิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้เกี่ยวกับแสงเลเซอร์ ประกอบ
ด้วย กิจกรรม 3 กิจกรรม โดยกิจกรรมที่ 1 เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้ศึกษา
เกี่ยวกับสมบัติของแสงเลเซอร์ กิจกรรมที่ 2 เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียน
ได้ศึกษาเกี่ยวกับหลักการของการก�
ำเนิดแสงเลเซอร์ และ กิจกรรมที่ 3
เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการน�
ำแสงเลเซอร์มาใช้ประโยชน์ โดยในบทความนี้
จะเป็นการน�
ำเสนอกิจกรรมที่ 1 และในฉบับถัดไปอีก 2 ฉบับ จะเป็นการน�
ำเสนอ
แนวทางการจัดกิจกรรม 2 และกิจกรรมที่ 3 ตามล�
ำดับ
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 แสงเลเซอร์แตกต่างจากแสงธรรมดาอย่างไร
ข้อควรระวัง แสงเลเซอร์เป็นแสงที่มีความเข้มสูง การมองแสงเลเซอร์โดยตรง
ด้วยตาเปล่า สามารถก่อให้เกิดความเสียหายแก่ดวงตาและท�
ำให้ดวงตาเสื่อมสภาพ
อย่างที่ไม่สามารถรักษาให้เหมือนเดิมได้ ดังนั้น การท�
ำกิจกรรมเกี่ยวกับแสงเลเซอร์
ต้องใช้ความระมัดระวังอย่างสูง ผู้ท�
ำกิจกรรม ควรปฏิบัติดังนี้
• ด�
ำเนินการตามขั้นตอนแต่ละขั้นตอนของกิจกรรมในลักษณะนั่ง และไม่ให้แนว
ของสายตาที่ใช้สังเกตอยู่ในระดับเดียวกับแหล่งก�
ำเนิดแสงเลเซอร์ที่วางอยู่บนโต๊ะ
• ให้วางแหล่งก�
ำเนิดแสงเลเซอร์บนโต๊ะ และหันให้แสงชี้ไปในแนวระดับหรือ
ชี้ลงด้านล่าง
ทั้งนี้ สมาคมครูวิทยาศาสตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกา (Doss, Lee and Plisch,
2010) ได้ให้ข้อแนะน�
ำเกี่ยวกับชนิดของเลเซอร์ที่เหมาะกับการน�
ำมาใช้ในการเรียน
การสอนว่า ควรเป็นเลเซอร์ Class II ที่มีก�
ำลังไม่เกิน 1 mW และไม่ควรให้ผู้เรียนที่
อยู่ในระดับต�่
ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย ได้ใช้เครื่องก�
ำเนิดแสงเลเซอร์โดยล�
ำพัง ใน
กรณีที่ผู้สอนต้องการน�
ำกิจกรรมเกี่ยวกับแสงเลเซอร์ไปจัดให้กับผู้เรียนในระดับต�่
ำกว่า
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้สอนควรเป็นผู้ท�
ำการสาธิต แทนการให้ผู้เรียนท�
ำ
การทดลองเป็นรายบุคคล