Table of Contents Table of Contents
Previous Page  15 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 15 / 62 Next Page
Page Background

1. เลือกมาตรฐานหรือตัวชี้วัด

พิจารณาเลือกมาตรฐานการเรียนรู้หรือตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่สามารถบูรณาการความรู้ไปใช้เพื่อตอบค�

ำถามที่ซับซ้อน แก้ปัญหาหรือ

สร้างสรรค์ชิ้นงานและนวัตกรรมจากสถานการณ์ที่ท้าทายหรือที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง และควรก�

ำหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายการเรียนรู้ให้ชัดเจน

2. พัฒนาค�

ำถาม ระบุประเด็น ปัญหาหรือสถานการณ์

เมื่อก�

ำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้แล้ว ครูควรตั้งค�

ำถาม ก�

ำหนดประเด็นปัญหาหรือการออกแบบสถานการณ์ซึ่งควรเป็นเรื่องที่ท้าทายและ

เชื่อมโยงกับชีวิตจริง ซึ่งขั้นตอนนี้ต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม

3. บูรณาการความรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์

พิจารณาและวิเคราะห์องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ ที่จ�

ำเป็นต้องน�

ำมา

ใช้ในการตอบค�

ำถาม การออกแบบ การส�

ำรวจตรวจสอบประเด็นข้อสงสัยการแก้ปัญหาหรือสถานการณ์ที่ท้าทายและเชื่อมโยงกับชีวิตจริง

4. เชื่อมโยงสู่งานอาชีพ

มีการให้รายละเอียดข้อมูลหรือสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับงานอาชีพทางด้านสะเต็มที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กับหัวข้อหรือเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้

การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา

5. ออกแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนแบบ 5 E

มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติและศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง โดยในขั้นตอนนี้จะยกตัวอย่างการออกแบบ

การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ด้วยรูปแบบ 5 E และมีการประเมินผลจากการปฏิบัติงานเป็นฐาน (performance-based assessments)

โดยมีขั้นตอนการด�

ำเนินการดังนี้

1. การสร้างความสนใจ (Engagement)

บทบาทนักเรียน

บทบาทครู

1) นักเรียนสามารถระบุปัญหาได้อย่างชัดเจนจากประเด็นหรือสถานการณ์ที่

ครูหรือ นักเรียนก�

ำหนดขึ้น

2) นักเรียนระดมความคิดเห็นร่วมกันเพื่อหาค�

ำตอบหรือหาแนวทางในการแก้

ปัญหา

1) ครูควรใช้ค�

ำถามเพื่อน�

ำสู่การก�

ำหนดประเด็นปัญหาหรือสถานการณ์ที่น่าสนใจและท้าทาย

2) ครูน�

ำอภิปรายประกอบการใช้ค�

ำถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น

ต่อประเด็นปัญหาหรือสถานการณ์

3) ครูใช้ค�

ำถามเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากค้นหาค�

ำตอบโดยการออกแบบและ

ปฏิบัติการด้วยตนเอง

2. การส�

ำรวจตรวจสอบ (Exploration)

บทบาทนักเรียน

บทบาทครู

1) นักเรียนท�

ำงานร่วมกันในการส�

ำรวจ สืบค้นข้อมูล และมีการบูรณาการความรู้

ทักษะหรือกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์

และคณิตศาสตร์

2) นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลและน�

ำมาประกอบการตัดสินใจเลือก

แนวทางการแก้ปัญหา การวางแผนและออกแบบ การเลือกใช้วัสดุ

3) นักเรียนลงข้อสรุปร่วมกันเพื่อเลือกแนวทางหรือวิธีการซึ่งมีความเหมาะสม

ที่น�

ำมาใช้ในการแก้ปัญหาหรือการหาค�

ำตอบในประเด็นหรือสถานการณ์

ที่ก�

ำหนดให้ และลงมือปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ก�

ำหนด โดยมีการวางแผนและ

ออกแบบโดยใช้เทคโนโลยีและกระบวนการทางวิศวกรรมร่วมด้วย

1) ครูควรก�

ำหนดเงื่อนไขเบื้องต้นก่อนการมอบหมายให้นักเรียนออกแบบและท�

ำการ

ส�

ำรวจตรวจสอบ เช่น เรื่องความส�

ำเร็จของงาน ระยะเวลา วัสดุอุปกรณ์ เป็นต้น

2) ครูควรส�

ำรวจความรู้พื้นฐานของผู้เรียน

3) ครูควรเป็นผู้ชี้แนะโดยการใช้ค�

ำถามเพื่อน�

ำสู่แนวทางการศึกษาข้อมูลในส่วนที่จ�

ำเป็น

ต้องน�

ำมาใช้ในการแก้ปัญหา การออกแบบ และการสร้างสรรค์และการทดสอบ

ประสิทธิภาพของผลงาน

4) ครูชี้แจงแนวทางในการท�

ำงาน และควรให้นักเรียนแต่ละคนคิดและออกแบบโดยใช้

แนวความคิดของตนเองก่อน ต่อจากนั้นให้นักเรียนภายในกลุ่มวางแผนการท�

ำงานร่วมกัน

โดยการระดมความคิดเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่เป็นแนวความคิดของกลุ่ม

5) ครูควรสนับสนุนแหล่งเรียนรู้ สื่อ อุปกรณ์ ประกอบการสืบเสาะหาความรู้และ

การท�

ำงานของนักเรียน

6) ครูควรออกแบบใบกิจกรรมประกอบการเรียนรู้ เป็นแนวทางพอสังเขป เพื่อให้นักเรียน

สามารถบรรลุเป้าหมายตามแนวทางการเรียนรู้ที่นอกจากองค์ความรู้แล้วยังมุ่งเน้นการเรียนรู้

ผ่านกระบวนคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา การวางแผน กระบวนการออกแบบอย่างเป็นระบบ

7) ครูส�

ำรวจการท�

ำงานของนักเรียนแต่ละกลุ่มและกระตุ้นด้วยการใช้ค�

ำถามให้นักเรียน

เกิดแนวคิดในการออกแบบและการตรวจสอบคุณภาพหรือทดสอบประสิทธิภาพของงาน