Table of Contents Table of Contents
Previous Page  34 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 34 / 62 Next Page
Page Background

34

นิตยสาร สสวท.

เล่นไปแล้วได้อะไร

ถึงตอนนี้อาจจะมีคนสังสัยว่าเล่นแบบนี้แล้วจะได้อะไร ที่จริงแล้วตลอดกิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบ ต้องผ่านกิจกรรมย่อย ๆ

หลายกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นการประกอบหุ่นยนต์ขึ้นจากวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ๆ ที่เรียนกันอยู่ในชั้นเรียน กิจกรรมนี้

จะท�

ำให้รู้และเข้าใจถึงการน�

ำความรู้ เรื่องของวงจรไฟฟ้ามาใช้ในการสร้างงานหรือเพื่อแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง

จากนั้นเมื่อได้รับภารกิจก็จะต้องพัฒนาหุ่นยนต์ให้มีความสามารถในการที่จะท�

ำภารกิจนั้นให้ประสบความส�

ำเร็จ

ซึ่งต้องใช้ทั้งความคิดสร้างสรรค์ การวางแผน การท�

ำงานเป็นทีม การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ การเลือกวัสดุที่เหมาะสม

รวมไปถึงการค�

ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมโดยเลือกที่จะน�

ำวัสดุเหลือใช้มาเป็นส่วนประกอบในการพัฒนาหุ่นยนต์ ก่อนการแข่งขัน

ทุกทีมได้มีการทดสอบการท�

ำงานหุ่นยนต์ของตนเพื่อหาข้อบกพร่องและท�

ำการแก้ไขจนพร้อมท�

ำงานได้ตามที่ได้

ออกแบบไว้ ช่วยส่งเสริมให้เกิดการท�

ำงานเป็นระบบ ที่ส�

ำคัญทุกทีมควรน�

ำเสนอแนวคิดในการพัฒนาหุ่นยนต์ให้ทีมอื่น ๆ

ได้ทราบเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน การท�

ำงานเป็นทีม การวางแผนที่ดี จะท�

ำให้หุ่นยนต์และทีมสามารถ

ท�

ำงานที่ได้รับมอบหมายได้ประสบความส�

ำเร็จ

สุดท้ายจะเห็นได้ว่า จากของเล่นที่เราเล่นกันอย่างสนุกสนานในวัยเด็ก ก็สามารถน�

ำมาเป็นสื่อช่วยในการเรียนการสอน

ซึ่งจะช่วยให้พัฒนาทักษะในหลาย ๆ ด้าน อีกทั้งยังท�

ำให้รู้จักน�

ำความรู้ในชั้นเรียนมาประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�

ำวันได้

จากภาพเมื่อทุกคนทราบกติกาการแข่งขัน แต่ละทีมเริ่มวิเคราะห์ปัญหา สิ่งที่หุ่นยนต์ที่ต้องท�

ำ แบ่งหน้าที่ของผู้ร่วมทีม

วางแผนการเล่น รวมไปถึงการเลือกวัสดุที่เหมาะสมมาใช้ในการพัฒนาหุ่นยนต์ ชึ่งอาจเป็นวัสดุเหลือใช้ทั่วไป และสุดท้าย

ต้องสามารถน�

ำเสนอแนวคิดในการออกแบบหุ่นยนต์ได้

บรรณานุกรม

หุ่นยนต์บังคับมือ. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2558, จาก

http://oho.ipst.ac.th/

สแกนโค้ด

เว็บไซต์