Previous Page  3 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 3 / 62 Next Page
Page Background

3

ปีที่ 43 ฉบับที่ 194 พฤษภาคม - มิถุนายน 2558

ดร. สุพรรณี ชาญประเสริฐ

ผู้อ�

ำนวยการสาขาเคมี สสวท. / e-mail:

supunnee@ipst.ac.th

การจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์

ส�

ำหรับหลักสูตร

การศึกษาขั้นพื้นฐานนั้น มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้น

กระบวนการไปสู่การสร้างองค์ความรู้ โดยผู้เรียนต้องมีส่วนร่วม

ในการเรียนทุกขั้นตอน ท�

ำกิจกรรมที่หลากหลายทั้งที่เป็นกลุ่มและ

รายบุคคล โดยอาศัยแหล่ งเรียนรู้ ทั้งในท้องถิ่นและที่เป็นสากล

(กรมวิชาการ, 2545) ทั้งนี้ผู้สอนมีบทบาทในการวางแผนการเรียนรู้

กระตุ้น แนะน�

ำ ช่วยเหลือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ดังนั้นในการจัด

การเรียนการสอน ครูผู้สอนต้องศึกษาเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้

ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ ท�

ำความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีการเรียนรู้

ต่ างๆ แล้ วน�

ำไปใช้ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ที่หลากหลาย

ให้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ ศักยภาพของผู้เรียน สภาพแวดล้อมรวมถึง

แหล่งความรู้ในท้องถิ่น

ระบบครูพี่เลี้ยง

กับการเพิ่มสมรรถนะครู

วิทยาศาสตร์ในโรงเรียนี

ที่ ั

บี่ ิ

ถุน