Previous Page  6 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 6 / 62 Next Page
Page Background

นิตยสาร สสวท.

6ิ

บรรณานุกรม

การมีครูพี่เลี้ยงในโรงเรียนจะท�

ำให้เกิดการช่วยเหลือกัน

อย่างใกล้ชิด และสามารถรับรู้ปัญหาโดยตรง นอกจากนี้การเรียนรู้

ร่วมกันเป็นทีมจะสนับสนุนให้มีการช่วยเหลือแลกเปลี่ยน

ประสบการณ์กัน เพื่อแก้ ไขปัญหาได้อย่างตรงเป้าหมาย

ครูพี่เลี้ยงที่ได้รับการพัฒนาแล้วจะมีสมรรถนะที่สามารถ

ช่วยเหลือ ให้ค�

ำปรึกษากับเพื่อนครูในโรงเรียนได้อย่างถูกวิธี

McKimm และ Brake (2008) พบว่ากระบวนการพี่เลี้ยงจะช่วย

สร้างกลุ่มคนที่มีศักยภาพได้เร็วกว่าปกติ และการช่วยเหลือ

ซึ่งกันและกันจะต่อเนื่องและยั่งยืน อันจะน�

ำไปสู่การพัฒนา

และเสริมสร้างสมรรถนะครูวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนให้สามารถ

จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อย่างไร

ก็ตามการสร้างระบบพี่เลี้ยงในโรงเรียนควรก�

ำหนดเป็นนโยบาย

ของโรงเรียนหรือกลุ่มโรงเรียน ควรมีประกาศ จัดท�

ำค�

ำสั่งแต่งตั้ง

อย่างชัดเจนมีแผนการด�

ำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม และ

การท�

ำให้ ระบบพี่เลี้ยงยั่งยืนควรมีการขยายผลถ่ ายทอด

ซึ่งกันและกัน รวมทั้งควรมีสิ่งตอบแทนให้กับครูที่ปฏิบัติหน้าที่

เป็นพี่เลี้ยง เพื่อเป็นขวัญก�

ำลังใจในความเสียสละช่วยเหลือเพื่อน

ครูในโรงเรียน ตัวอย่างเช่น ควรมีการประกาศยกย่องชมเชย

กระทรวงศึกษาธิการ. กรมวิชาการและคณะอนุกรรมการปฏิรูปการ

เรียนรู้ในคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษา. (2544).

แนวทางการ

นิเทศช่วยเหลือโรงเรียนปฏิรูปการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง.

กรุงเทพมหานคร:

คุรุสภาลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ. กรมวิชาการ. (2544).

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศักราช 2544 .

กรุงเทพมหานคร: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

Hay, J. (1995).

Transformational mentoring: Creating develop

mental alliances for changing organizational cultures.

Maidenhead: McGraw-Hill.

McKimm, J., and Brake,D. Inter-professional education.Retrieved

December 21, 2008, from:

http://www.faculty.londonde anery.ac.uk/e-learning/interprofessional-

education/.

Rennie, L., Goodrum, D and Hackling, M. (2001). Science teach

ing and learning in Australian schools: Results of a national

study.

Research in Science Education, 31

, 455 - 498.

Senge, P. M. (1990).

The fifth discipline: the art and practice

of the learning organization.

New York: Century Press.

Senge, P. et. al. (1994).

The Fifth Discipline Fieldbook: Strate

gies and Tools for Building a Learning Organization.

New York:

Doubleday.