Previous Page  5 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 5 / 62 Next Page
Page Background

5

ปีที่ 43 ฉบับที่ 194 พฤษภาคม - มิถุนายน 2558 ี

ที่ ั

บี่ ิ

ถุน

แนวทางการด�

ำเนินการพัฒนาระบบพี่เลี้ยงในโรงเรียน

ตนเองได้ดี นอกจากนี้การนิเทศภายในจะส่งเสริมและเร่งระดม

ความร่วมมือได้ดีที่สุด ดังนั้นเพื่อแก้ปัญหานี้ควรมีแนวทางในการ

ส่งเสริมให้ครูมีการช่วยเหลือกันเองภายในโรงเรียนซึ่งเป็นวิธีการ

หนึ่งที่สามารถช่วยเหลือครูได้

จากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการท�

ำงานแบบ

พี่เลี้ยงของ Hay (1995) รวมทั้งการท�

ำงานและการเรียนรู้ร่วมกัน

เป็นทีมของ Senge (1994) พบว่าเหมาะสมที่จะน�

ำมาปรับใช้

หรือส่งเสริมให้เกิดขึ้นภายในโรงเรียน เนื่องจากกระบวนการ

พี่เลี้ยงนั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคคลให้มีความสามารถสูง

เป็นกระบวนการส�

ำคัญที่ช่วยให้พนักงานหรือผู้ร่วมงานได้รับ

การดูแล และยังเป็นการพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงาน

ร่วมกับองค์กรได้อย่างมีความสุข ระบบพี่เลี้ยงท�

ำให้ทุกคนมี

ความสามารถในการท�

ำงานให้บรรลุตามเป้าหมายได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ การสร้างระบบพี่เลี้ยงเป็นจุดเริ่มต้นที่ส�

ำคัญของ

การสร้างพื้นฐานการพัฒนาบุคลากรที่ยั่งยืน (McKimm, 2008)

ส�

ำหรับการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมนั้นท�

ำให้ครูมีโอกาสเรียนรู้

รับรู้และแก้ปัญหาไปพร้อม ๆ กัน การเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิก

ในลักษณะกลุ่มหรือทีมงานเป็นเป้าหมายส�

ำคัญที่ต้องท�

ำให้เกิดขึ้น

เพื่อให้มีการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์กันอย่างสม�่

ำเสมอ

การเรียนรู้เป็นทีมเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางในการสร้างองค์กร

แห่งการเรียนรู้ (Senge, 1990) กล่าวโดยสรุปแล้วการเรียนรู้เป็น

ทีมนั้นไม่เพียงแต่จะเกิดการเรียนรู้เพื่อการท�

ำงานเท่านั้น แต่ยัง

เป็นการเสริมสร้ างความเข้ าใจกันของสมาชิกภายในทีม

ซึ่งจะท�

ำให้เกิดความสามัคคีร่วมมือกันท�

ำงานเป็นไปในทิศทาง

เดียวกันได้ นอกจากนี้การเรียนรู้เป็นทีมจะช่วยดึงเอาศักยภาพ

ทั้งด้ านความคิด ทักษะ ความช�

ำนาญ ประสบการณ์

มาท�

ำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในทิศทางเดียวกัน

ครูพี่เลี้ยง

หมายถึง ครูวิทยาศาสตร์ที่ท�

ำหน้าที่ให้การช่วย

เหลือครูวิทยาศาสตร์ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า โดยเป็นผู้ให้

ค�

ำปรึกษา สอนงาน ผ่านกระบวนการสนทนาแลกเปลี่ยนความ

คิดเห็น การใช้ค�

ำถาม การรับฟังและวิเคราะห์ปัญหาร่วมกัน

เพื่อน�

ำไปสู่การวางแผนช่วยเหลือ ก�

ำกับดูแล ติดตาม ให้เกิดการ

เรียนรู้และพัฒนางานด้านการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์

ดังนั้นผู้เขียนสนับสนุนแนวคิดของการพัฒนาสมรรถนะครู

วิทยาศาสตร์ในโรงเรียนที่มีประสบการณ์และศักยภาพสูงให้

สามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นครูพี่เลี้ยงให้แก่ครูวิทยาศาสตร์ใน

โรงเรียนที่มีประสบการณ์น้อยกว่า ครูที่มีประสบการณ์การสอน

มากกว่าจะมีความสามารถในการให้ความช่วยเหลือครูบรรจุใหม่

ได้ อย่างไรก็ตามการจัดให้มีระบบพี่เลี้ยงในโรงเรียนก็ควรมี

กลยุทธ์ของการพัฒนาสมรรถนะที่จ�

ำเป็นส�

ำหรับครูพี่เลี้ยงด้วย

จากการวิจัยของผู้เขียนพบว่าการเสริมสร้างสมรรถนะให้กับ

ครูวิทยาศาสตร์ที่ท�

ำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงในโรงเรียนให้มีความรู้ และ

ทักษะที่จ�

ำเป็นส�

ำหรับการเป็นครูพี่เลี้ยงที่มีคุณภาพโดยอาศัย

หลักการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างครูพี่เลี้ยงด้วยกันเองและระหว่าง

พี่เลี้ยงกับครูวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการช่วยเหลือ จะส่งผลให้ครู

พี่เลี้ยงและครูวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนมีสมรรถนะเพิ่มขึ้น และ

นอกจากนี้ยังเสริมสร้างความเข้าใจและความร่วมมือที่ดีของครู

ในโรงเรียนอีกด้วย เพราะการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม คือ การมี

ส่วนร่วมในการแบ่งปันความรู้และใช้ประโยชน์จากการแบ่งปัน

เพื่อน�

ำไปสู่ทักษะทางความคิด โดยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมจะ

เป็นตัวช่วยให้คนในองค์กรมีประสบการณ์กับสิ่งต่าง ๆ ในมุมมอง

ที่หลากหลาย ท�

ำให้เป็นการขยายขอบเขตการรับรู้ มีความเข้าใจ

ที่ลึกซึ้งและชัดเจนขึ้น ซึ่งน�

ำไปสู่การพัฒนาตนเองในที่สุด

1. การคัดเลือกครูพี่เลี้ยง

- เพื่อค้นหาผู้มีศักยภาพสูงเข้าร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์

โดยการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม

2. การสร้างความร่วมมือและข้อตกลงการปฏิบัติงานของ

ครูพี่เลี้ยง

- เพื่อสร้างความเข้าใจถึงเป้าหมายและระบบพี่เลี้ยงในโรงเรียน

และข้อตกลงการปฏิบัติงานร่วมกับครูพี่เลี้ยงและครูวิทยาศาสตร์

ในโรงเรียน

3.

การพัฒนาสมรรถนะครูพี่เลี้ยง

- เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ ซึ่งได้แก่ ความรู้และทักษะที่

จ�

ำเป็นในการท�

ำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง

4.

การก�

ำกับ ดูแลและติดตามการปฏิบัติงานครูพี่เลี้ยง

- เพื่อการวางแผนก�

ำหนดตารางการปฏิบัติงานร่วมกัน รวมทั้ง

การก�

ำกับดูแลและติดตาม การพัฒนางาน ทั้งนี้เพื่อช่วย

เสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนการสอนให้กับครู

วิทยาศาสตร์