

1
ปีที่ 44 ฉบับที่ 197 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2558
เปิดเล่ม สสวท.
บรรณาธิการบริหาร
ขจรเดช บุตรพรม
คณะที่ปรึกษา
ประธานกรรมการสสวท.
ผู้อำ
�นวยการสสวท.
บรรณาธิการบริหาร
ขจรเดช บุตรพรม
ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ
รองผู้อำ
�นวยการสสวท.
ผู้ช่วยผู้อำ
�นวยการสสวท.
หัวหน้ากองบรรณาธิการ
พงษ์เทพบุญศรีโรจน์
กองบรรณาธิการ
ดร.กุศลิน มุสิกุล
ดร.จารุวรรณ แสงทอง
ดร.ชัยวุฒิ เลิศวนสิริวรรณ
ณรงค์ แสงแก้ว
ดุสิต สังข์ร่วมใจ
ถนิม ทิพย์ผ่อง
ธันยากานต์ ยืนตระกูลชัย
นวรัตน์ อินทุวงศ์
เบ็ญจวรรณ ศรีเจริญ
ประกายกานต์ ตรีอาภรณ์
ดร.ประสงค์ เมธีพินิตกุล
ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ
ดร.สมชาติ ไพศาลรัตน์
ดร.อนุชิต อารมณ์สาวะ
นิลุบลกองทอง
รัชนีกรมณีโชติรัตน์
สินีนาฎ ทาบึงกาฬ
ดวงมาลย์ บัวสังข์
สิริมดี นาคสังข์
สุประดิษฐ์ รุ่งศรี
เจ้าของ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
924ถนนสุขุมวิทแขวงพระโขนงเขตคลองเตยกทม.10110
โทร.0-2392-4021ต่อ3307
Call Center: 0-2335-5222
(ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท.
หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง
โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย
จักเป็นพระคุณยิ่ง)
วัตถุประสงค์
1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
ให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป
2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท.
3. เสนอความก้าวหน้าของวิทยาการในด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุนการศึกษาของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน
4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่าง ๆ เกี่ยวกับความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีจากครูและผู้สนใจทั่วไป
ปาริฉัตร พวงมณี
พรพจน์ พุฒวันเพ็ญ
ราม ติวารี
ดร.วนิดา ธนประโยชน์ศักดิ์
วราภรณ์ ต. วัฒนผล
สมเกียรติ เพ็ญทอง
สุพจน์ วุฒิโสภณ
ดร.สุพรรณี ชาญประเสริฐ
ดร.สุพัตรา ผาติวิสันติ์
อุปการ จีระพันธุ
เรื่องราวความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูและนักเรียนเป็น
เรื่ องที่ เราคุ้นชิน นักเรียนส่วนใหญ่ ใช้เวลาหนึ่ งในสามของวัน
กับการอยู่ที่โรงเรียน ร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนต่าง ๆ ซึ่งต้อง
มีปฏิสัมพันธ์ทั้งกับเพื่อนและครู อันจะนำ
�ไปสู่การเรียนรู้ร่วมกัน
ซึ่งหลายงานวิจัยบ่งชี้ ว่า ปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักเรียนกับบุคคล
อื่นในโรงเรียนโดยเฉพาะกับครูนั้น นับเป็นสิ่งแวดล้อมทางการเรียน
ที่สำ
�คัญที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนทั้งในทางวิชาการ ทางสังคม
และอารมณ์ได้ ดังนั้น การมีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักเรียนและบุคคล
ในโรงเรียนจึงมีความสำ
�คัญที่ไม่อาจละเลยได้
ผลการศึกษาของโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติได้
สะท้อนเรื่องราวความสุข หากท่านผู้อ่านเป็นครู ลองดูว่าตอนนี้ความสัมพันธ์
กับนักเรียนที่มีอยู่นั้นเป็นอย่างไร และท่านจะทำ
�อย่างไรเพื่อให้
ความสัมพันธ์นี้เติบโตและสวยงามได้ในรั้วโรงเรียน
ภายในเล่มยังมีเรื่องของ “ลูกเต๋าพิสดาร” รวมถึง“พันธุศาสตร์
ระดับโมเลกุลและพันธุวิศวกรรมศาสตร์กาโคลยีนโดยอาศัยพลาสมิดของ
แบคทีเรีย” และท้ายสุดพลาดไม่ได้กับ โครงการ Thailand Junior
Water Prize เวทีที่เปิดโอกาสให้เด็ก ๆ ทั่วประเทศได้ส่งสิ่งประดิษฐ์
นวัตกรรมที่รักษาสิ่งแวดล้อม นับเป็นอีกงานที่ห้ามพลาดด้วยประการ
ทั้งปวง สุดท้ายนี้ขอฝากข้อคิดไว้สั้น ๆ ว่า ซํ้าเติมชีวิต กับ ปรับปรุงชีวิต
นั้นง่ายนิดเดียว แต่ให้ผลต่างกันมาก...สวัสดีปีใหม่ พ.ศ.2559 ครับ