Previous Page  7 / 61 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 7 / 61 Next Page
Page Background

7

ปีที่ 44 ฉบับที่ 197 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2558

8. จากนั้นให้จัดกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยมีกลุ่มละ

5 คน เตรียมถาดกระดาษซึ่งใช้แทนแบคทีเรียที่เป็นเซลล์

เจ้าบ้านกลุ่มละ 6 ถาด วางไว้ตรงกลางโต๊ะ ให้นักเรียนแต่ละ

คนสุ่มหยิบชิ้นกระดาษจากถุงทึบของตนเองขึ้นมา 1 วง แล้ว

ใส่ลงในถาดกระดาษ 1 ถาด ให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันพิจารณา

เลือกถาดกระดาษที่ได้รับวงกระดาษที่มีลักษณะแตกต่างกัน

ซึ่งจะมี 3 ถาดและ 1 ถาดที่ไม่ได้รับวงกระดาษใด ๆ

- ได้รับพลาสมิดที่ต่อกับ DNA จะใส่กระดาษสีขาว

ลงไปในถาด ซึ่งแสดงว่า แบคทีเรียนี้เจริญได้บนอาหารเลี้ยงเชื้อ

และไม่สามารถสร้างเอนไซม์ beta-galactosidase เนื่องจาก

มี DNA แทรกเข้าไปในพลาสมิดได้บริเวณต�

ำแหน่งยีน

lac

Z

บนพลาสมิดท�

ำให้ยีนนี้ไม่ท�

ำงาน

9. ให้สมาชิกภายในกลุ่มร่วมกันพิจารณาว่าวงกระดาษ

ที่เป็นพลาสมิดหรือ DNA ที่อยู่ในถาดกระดาษนั้น ท�

ำให้

ลักษณะฟีโนไทป์ของแบคทีเรียเป็นแบบใด แล้วใส่กระดาษ

สี่เหลี่ยมสีขาว ฟ้า หรือแดงแผ่นใดแผ่นหนึ่งซึ่งแทนลักษณะ

แต่ละฟีโนไทป์ลงในแต่ละถาดกระดาษ ดังนี้

- กรณีที่โคโลนีของแบคทีเรียบนอาหารเลี้ยงเชื้อเป็นสีขาวให้

ใส่กระดาษสีขาว

- กรณีที่โคโลนีของแบคทีเรียบนอาหารเลี้ยงเชื้อเป็นสีฟ้าให้

ใส่กระดาษสีฟ้า

- กรณีที่โคโลนีของแบคทีเรียไม่เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อให้

ใส่สีแดง

10. สรุปและอภิปรายผลการท�

ำกิจกรรมเกี่ยวกับ

ลักษณะฟีโนไทป์ของแบคทีเรียแต่ละเซลล์ว่าเจริญเติบโตบน

อาหารเลี้ยงเชื้อที่ใส่ยาปฏิชีวนะแอมพิซิลลิน X-gal และ

IPTG ได้หรือไม่ และถ้าเจริญได้จะเกิดเป็นโคโลนีสีอะไร

เพราะเหตุใด

จากการท�

ำกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติเอง

และท�

ำอย่างเป็นขั้นตอน จะท�

ำให้เข้าใจเรื่องการโคลนยีนโดย

อาศัยพลาสมิดของแบคทีเรียซึ่งมีความซับซ้อนได้ง่ายขึ้น

และนอกจากกิจกรรมนี้แล้ว ผู้สอนอาจจะให้นักเรียนไป

สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้าง GMOs อื่น ๆ หรือผลิตภัณฑ์

จาก GMOs อื่น ๆ ที่นักเรียนสนใจหรือเกี่ยวข้องกับชีวิต

ประจ�

ำวัน เช่น อาหารและยา เพื่อน�

ำมาเสนอหน้าชั้นเรียน

หรือจัดท�

ำป้ายนิเทศเพื่อเผยแพร่ความรู้ต่อไป

- ได้รับพลาสมิดที่ต่อปลายเข้าด้วยกัน จะใส่กระดาษ

สีฟ้าลงไปในถาด ซึ่งแสดงว่า แบคทีเรียนี้เจริญได้บนอาหาร

เลี้ยงเชื้อ และสามารถสร้างเอนไซม์ beta-galactosidase

เนื่องจากไม่มี DNA แทรกเข้าไปในพลาสมิดบริเวณต�

ำแหน่งยีน

lac

Z ท�

ำให้ยีนนี้สามารถท�

ำงานได้ สร้างเอนไซม์ย่อย X-gal

ให้ได้เป็นสีฟ้า

- ได้รับชิ้น DNA ที่ต่อปลายเข้าด้วยกัน จะใส่กระดาษ

สีแดงลงไปในถาด ซึ่งแสดงว่า แบคทีเรียนี้ไม่สามารถเจริญได้

บนอาหารเลี้ยงเชื้อ เนื่องจากไม่ได้รับพลาสมิดที่มียีนต้านยา

ปฏิชีวนะแอมพิซิลลิน

- ไม่ได้รับพลาสมิดหรือ DNA จะใส่กระดาษสีแดง

ลงไปในถาด ซึ่งแสดงว่า แบคทีเรียนี้ไม่สามารถเจริญได้

บนอาหารเลี้ยงเชื้อ เนื่องจากไม่ได้รับพลาสมิดที่มียีนต้าน

ยาปฏิชีวนะแอมพิซิลลิน

บรรณานุกรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.กระทรวงศึกษาธิการ.

(2554).

หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 4.

กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพ์องค์การค้า สกสค.

สมาคมพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย. (2548).

สาระน่ารู้อณูพันธุศาสตร์.

กรุงเทพมหานคร: เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชัน จ�

ำกัด.

สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. (2548).

พันธุวิศวกรรมเบื้องต้น.

พิมพ์ครั้งที่ 3.

กรุงเทพมหานคร: ส�

ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

จากการท�

ำกิจกรรมนักเรียนควรสรุปได้ว่า ถาดกระดาษ

ที่เป็นตัวแทนของแบคทีเรียจะมีลักษณะต่าง ๆ ดังนี้