Previous Page  11 / 61 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 11 / 61 Next Page
Page Background

11

ปีที่ 44 ฉบับที่ 197 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2558

ตัวอย่างที่ 1 กิจกรรมสะเต็ม ล�

ำบากแค่ไหน กลไกช่วยได้

(สสวท., 2558)

จากกิจกรรมรถของเล่นพลังงานไฟฟ้า ในหนังสือเรียน

ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ ครูสามารถพิจารณาปรับกิจกรรม

ให้สอดคล้องกับแนวทางการเรียนรู้ แบบสะเต็มศึกษา

มากยิ่งขึ้น โดยปรับส่วนต่าง ๆ ของกิจกรรม ดังนี้

1. สร้างบริบทให้มีความเชื่อมโยงกับการน�

ำสิ่งที่ได้เรียนรู้มา

แก้ปัญหาในสถานการณ์ของชีวิตจริงมากยิ่งขึ้น ด้วยการก�

ำหนด

เงื่อนไขให้นักเรียนต้องสร้างรถของเล่นที่สามารถวิ่งขึ้นเนิน

ที่เป็นทางเรียบในระยะทางที่ก�

ำหนด

2. เพิ่มความชัดเจนของหัวข้อในวิชาที่น�

ำมาบูรณาการในกิจกรรม

วิทยาศาสตร์

ความเร็วและอัตราเร็ว แรงเสียดทาน

คณิตศาสตร์

อัตราส่วน สัดส่วน

เทคโนโลยี

เฟือง ล้อและเพลา

วิศวกรรมศาสตร์

การออกแบบและประดิษฐ์เพื่อ

แก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางวิศวกรรม

3. เพิ่มการมีส่วนร่วมและความสนุกในการท�

ำกิจกรรมมาก

ยิ่งขึ้น ด้วยการให้คะแนนกับกลุ่มที่ท�

ำให้รถของเล่นวิ่งขึ้น

เนินได้ไกลและเร็วที่สุด

4. สร้างความเชื่อมโยงกับอาชีพและการท�

ำงานที่เกี่ยวข้อง

โดยครูให้ความรู้เพิ่มเติมกับนักเรียน ถึง การประกอบอาชีพของ

วิศวกรยานยนต์ ช่างซ่อมรถจักรยาน จักรยานยนต์ หรือ

รถยนต์ เป็นต้น

5. เพิ่มแนวทางการวัดผลประเมินผลส�

ำหรับทักษะในศตวรรษ

ที่ 21 โดยอาจมีการสร้างเกณฑ์การประเมิน ทักษะการคิด

สร้างสรรค์ (creative thinking skill) การคิดวิเคราะห์

(critical thinking skill) การท�

ำงานร่วมกัน (collaboration

skill) และการสื่อสาร (communication skill) โดยมี

การแจ้ งให้ นักเรียนทราบถึงเกณฑ์ การประเมินด้ วย

(สามารถดาวน์โหลดตัวอย่างเกณฑ์การประเมินกิจกรรม

การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาได้ที่ลิงค์ http://goo.

gl/pIvZX7 )

ภาพที่ 4 ตัวอย่างรถของเล่นจ�

ำลองที่นักเรียนออกแบบและประดิษฐ์

ตามกิจกรรมการเรียนรู้สะเต็ม “ล�

ำบากแค่ไหน กลไกช่วยได้”

การน�

ำของเล่นมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา

ส�

ำหรับครูที่สนใจน�

ำของ เล่ นมาจัดกิจกรรม

การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับแนวทางสะเต็มศึกษา (Vasquez,

Sneider, & Comer, 2013) อาจพิจารณาน�

ำกิจกรรมและ

วัสดุอุปกรณ์ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ของเล่นเชิง

วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มาปรับให้มีความชัดเจน

(explicit) ของการบูรณาการวิชาทั้ง 4 มากยิ่งขึ้น และ เพิ่ม

ความเชื่อมโยงกับการน�

ำสิ่งที่ได้เรียนรู้มาแก้ปัญหาในบริบทของ

ชีวิตจริง รวมทั้ง เพิ่มการเชื่อมโยงอาชีพและการท�

ำงาน

และแนวทางการวัดผลประเมินผลของทักษะในศตวรรษที่ 21

ในที่นี้ ขอยกตัวอย่างแนวทางการปรับกิจกรรมจาก

หนังสือเรียน ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ให้สอดคล้องกับแนวทาง

การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษามากยิ่งขึ้น ดังนี้