

13
ปีที่ 44 ฉบับที่ 197 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2558
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากของเล่น ตามแนวทางในหนังสือเรียน ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ หรือ ตามแนวทางสะเต็มศึกษา
เป็นการเรียนรู้ที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติได้พัฒนาความคิดเป็นขั้นเป็นตอน ฝึกฝนการใช้จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ในการออกแบบ แก้ไข และประดิษฐ์ของเล่น พร้อมทั้งได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลินซึ่งนอกจากจะช่วยให้เกิดความเข้าใจใน
หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องได้ลึกซึ้งยิ่งขึ้นแล้ว ยังได้พัฒนาทักษะและทัศนคติของ นักสร้าง นักประดิษฐ์ คิดค้นนวัตกรรม
ซึ่งเป็นคุณลักษณะของก�
ำลังคนที่ก�
ำลังเป็นที่ต้องการอย่างมากในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ ความมั่นคง ของสังคมที่อยู่
บนฐานความรู้ในปัจจุบันและอนาคต
ผู้ที่สนใจน�
ำหนังสือเรียนและคู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ของ สสวท. ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน สามารถหาซื้อได้ที่องค์การค้าของ สกสค. หรือ ร้านค้าที่เป็นตัวแทน
ของ สกสค. ในพื้นที่จังหวัดของท่าน
แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการน�
ำวัสดุที่ใช้แล้วมาประดิษฐ์เป็นของเล่นเพื่อประกอบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สามารถค้นหา
ข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก YouTube Channel ของอาร์วินด์ กุบตา (Arvind Gupta) ผู้เชี่ยวชาญด้านการประดิษฐ์ของเล่นจาก
วัสดุใช้แล้วชาวอินเดีย ที่ลิงค์
https://goo.gl/xnvdufลิงค์ส�
ำหรับดาวน์โหลดตัวอย่างเกณฑ์การประเมินกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็ม
http://goo.gl/pIvZX7ลิงค์ส�
ำหรับดาวน์โหลดเอกสารกิจกรรม และ คู่มือกิจกรรม “ล�
ำบากแค่ไหน กลไกช่วยได้”
http://goo.gl/ayI1y1Gupta, A. (2010). Learning Science Through Activities andToys. Khagol Vishwa Magazine. Retrived October 5, 2015,
from
http://www.arvindguptatoys.com/arvindgupta/khagol.pdfกุสุมา พันธ์ไหล. (2544).
ผลการสอนโดยการใช้ของเล่นที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 6 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต).
กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จามรี สินจรูญศักดิ์. (2548).
ผลการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 โดยใช้ชุดกิจกรรมของเล่นพื้นบ้าน
ที่ประดิษฐ์จากพืช (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต).
เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555).
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ ระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มสาระเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์องค์การค้า สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2558).
คู่มือกิจกรรมสะเต็ม Science Technology Engineering andMathematics
Education ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การค้า สกสค.
สุภาภรณ์ มั่นเกตุวิทย์. (2544).
การเสริมสร้างเจตคติทางวิทยาศาสตร์โดยการใช้ของเล่นทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
(วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต).
เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Vasquez, J.A., Sneider, C., and Comer, M. (2013).
STEM Lesson Essentials: Integrating Science,Technology, Engineering, and
Mathematics.Portsmouth.
NH: Heinemann.
Sirinterlikci, A., Zane, L., & Sirinterlikci, A.L. (2009). Active Learning Through Toy Design and Development.
The Journal of
Technology Studies. 35(2).
14 – 22.
บรรณานุกรม