

จากเวที Thailand ถึง Stockholm
ผู้ ช น ะ เ ลิ ศ ใ น ก า ร
ประกวด Thailand Junior
Water Prize (TJWP) จะได้มี
โอกาสเข้ าร่ วมการประกวด
Stockholm Junior Water
Prize ซึ่งเป็นเวทีที่รวบรวม
จินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์
ด้วยการสร้างผลงานสิ่งประดิษฐ์
ด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม
และเทคโนโลยี ของเยาวชนจากทั่วทุกมุมโลก ที่สนใจ
ปัญหาน�้
ำ และการพัฒนาอย่างยั่งยืนตั้งแต่ในระดับท้องถิ่น
ภูมิภาค และระดับโลก ที่จัดขึ้นในงานสัปดาห์น�้
ำโลก
(World Water Week) ของทุกปี โดยเจ้าหญิงวิคตอเรีย
มกุฎราชกุมารีแห่ งสวีเดนทรงเป็ นองค์ ประธานและ
พระราชทานรางวัลส�
ำหรับผู้ชนะเลิศตลอด 19 ปีที่ผ่านมา
(คศ. 1997-2015) และผลงานเกือบ 1,000 นวัตกรรม
เป็นของหนุ่มสาวทั่วโลก ที่ได้มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์
และดูแลทรัพยากรน�้
ำของโลก
ทุกปี มีผู้เข้าร่วมประชุมกว่าพันคน จากกว่า
30 ประเทศทั่วโลก เข้าร่วมการแข่งขันระดับนานาชาติ ผู้ชนะ
ของ Stockholm Junior Water Prize จะได้รับรางวัล
15,000 เหรียญสหรัฐ คริสตัลสีฟ้า ประกาศนียบัตร และ
ไ ด้ รับ เ กีย ร ติ ร่ ว ม โ ต๊ ะ เ ส ว ยกับ เ จ้ า หญิง วิ คตอ เ รี ย
มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน ณ Stockholm City Hall
จัดงานประกวดผลงานวิจัยชนะเลิศ ปี 2559
(มีนาคม พ.ศ. 2559)
เตรียมการเข้าร่วมการประกวด
Stockholm Junior Water Prize
(เมษายน – กรกฎาคม พ.ศ. 2559)
เข้าร่วมการประกวด
Stockholm Junior Water Prize 2016
(สิงหาคม – กันยายน พ.ศ. 2559)
หมายเหตุ
1.นักเรียน 3 คน/ทีม, อาจารย์ที่ปรึกษา 1-2 ท่าน/ทีม
2.ดาวโหลดคู่มือการประกวดและใบสมัครได้ที่
http://globethailand.ipst.ac.th/images/stories/news_local/TJWP2015/tjwp2016.pdf
งานวิจัยที่เคยได้รับรางวัลชนะเลิศ Thailand Junior
Water Prize (TJWP)
ผู้ชนะเลิศในปี 2556 ได้แก่ น้อง ๆ จากโรงเรียน
มหิดลวิทยานุสรณ์ ชื่อนางสาวคัทฬิยา เลาหพจนารถ นางสาว
ธัญวรัตม์ จันทร์ธิวัตรกุล และนางสาวภัทร์นฤน ขัตติยะสุวงศ์
ด้วยผลงานชื่อ “ชุดอุปกรณ์ดูดซับโลหะหนักโดยวัสดุจาก
ธรรมชาติ (A Novel Bioadsorption Instrument for the
Removal of Heavy Metal in Wastewater)” และได้
เข้าร่วมการประกวด Stockholm Junior Water Prize
ณ กรุงสต๊อกโฮม ประเทศสวีเดน
ผู้ชนะเลิศในปี 2557 ได้แก่ น้อง ๆ จาก
โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา จังหวัดสุราษฏร์ธานี ชื่อ
นางสาวอรวรรณ ทัศนเบญจกุล นางสาวณัฏฐณิชา ใจรังษี
และนายปัณณวัฒน์ เพียรจัด และได้รับรางวัล Diploma of
Excellence ซึ่งได้รับพระราชทานรางวัลจาก เจ้าหญิง
วิคตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่ งสวีเดน ด้ วยผลงาน
ชื่อ “นวัตกรรมเปลี่ยนน�้
ำทิ้งจากการท�
ำยางแผ่นดิบสู่ผลิตภัณฑ์
ทดแทนพลาสติก (Transforming wastewater from raw
rubber sheets production into GBC plastic)” นับเป็น
ครั้งแรกที่เ ยาวชนไทยสร้ า งความภาคภูมิใจ ให้ กับ
ประเทศไทยในการคว้ารางวัลยิ่งใหญ่จากการประกวดในเวทีนี้
ผู้ชนะเลิศในปี 2558 ได้แก่ น้อง ๆ จากโรงเรียน
กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ชื่อ นายภิวัต จงเจริญ นายปริตต์
วงศ์ตระกูล และนายธนินท์ธร รวิทัศน์ ด้วยผลงาน
ชื่อ “โปรแกรมWater Quality Analysis and Overall System
Management (WAM) ส�
ำหรับวิเคราะห์การบริหารจัดการน�้
ำ
ทั้งระบบ เพื่อลดผลกระทบจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้
ำตาม
ชายฝั่งอย่างยั่งยืน”
15
ปีที่ 44 ฉบับที่ 197 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2558