Previous Page  5 / 61 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 5 / 61 Next Page
Page Background

5

ปีที่ 44 ฉบับที่ 197 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2558

เมื่อ DNA ที่ตัดด้วยเอนไซม์ตัดจ�

ำเพาะแทรกเข้า

ไปในพลาสมิดได้ตรงต�

ำแหน่งที่เอนไซม์ตัดจะท�

ำให้ยีน

lac

Z

ไม่ท�

ำงาน ไม่สามารถสร้างเอนไซม์ beta-galactosidase ได้

เมื่อน�

ำพลาสมิดใส่เข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านแล้วเลี้ยงในอาหาร

เลี้ยงเชื้อที่ใส่ยาปฏิชีวนะแอมพิซิลลิน และ IPTG ซึ่งเป็นสาร

เหนี่ยวน�

ำการสร้าง beta-galactosidase พร้อมกับใส่สาร

X–gal ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของเอนไซม์นี้ เซลล์ที่ได้รับพลาสมิด

เท่านั้นที่เจริญได้และเพิ่มจ�

ำนวนขึ้นจนมองเห็นเป็นโคโลนี

และสีของโคโลนีแบคทีเรียจะบอกได้ว่าแบคทีเรียโคลนนั้น

สร้าง beta-galactosidase ได้หรือไม่ และเป็นตัวรายงาน

ผลว่าแบคทีเรียโคลนนั้นได้รับ DNA รีคอมบิแนนท์หรือมี

DNA ที่ต้องการแทรกอยู่ในพลาสมิดหรือไม่ ดังภาพที่ 4

ก่อนการท�

ำกิจกรรมครูอาจจะเปิดสื่อวีดิทัศน์เรื่อง

การโคลนยีนโดยอาศัยพลาสมิดของแบคทีเรีย จาก http://

www.scimath.org/ebook/sci/sci-sec4/14/eBook/

ซึ่ง

เป็นสื่อการสอนที่อยู่ในหนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์ รายวิชา

เพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 4 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

เพื่อให้ นักเรียนได้ เรียนรู้ เรื่องการโคลนยีนโดยอาศัย

พลาสมิดของแบคทีเรียในห้องปฏิบัติการ

การจัดกิจกรรมเรื่องการโคลนยีนโดยอาศัยพลาสมิดของ

แบคทีเรีย

วัสดุอุปกรณ์

ส�

ำหรับ 1 กลุ่ม จ�

ำนวนสมาชิก 5 คน

1. กระดาษสีฟ้าขนาดกว้าง 2.5 cm ยาว 29 cm จ�

ำนวน 10 แผ่น

2. กระดาษสีเขียว กว้าง 2.5 cm ยาว 20 cm จ�

ำนวน 10 แผ่น

3. กระดาษสีขาว สีฟ้า และสีแดง ขนาดกว้าง 8 cm ยาว 8 cm

สีละ 5 แผ่น

4. ถุงผ้าหรือถุงกระดาษทึบ 5 ถุง

5. ปากกา 5 อัน

6. เทปใส 2 อัน

7. กรรไกร 5 อัน

8. ถาดกระดาษ 6 ถาด

ภาพที่ 4 ฟีโนไทป์ของแบคทีเรียที่ได้รับและไม่ได้รับ DNA

รีคอมบิแนนท์

ยีน

lac

Z ไม่ท�

ำงาน และแบคทีเรีย

ไม่สามารถสร้างเอนไซม์ beta-ga-

lactosidase ได้

พลาสมิดที่มี DNA แทรก

บริเวณยีน

lac

Z ถูกใส่เข้าไป

ในเซลล์แบคทีเรีย

พลาสมิดที่ไม่มี DNA แทรก

บริเวณยีน

lac

Z ถูกใส่เข้าไป

ในเซลล์แบคทีเรีย

ยีน

lac

Z ท�

ำงาน และแบคทีเรีย

สามารถสร้างเอนไซม์ beta-galac-

tosidase ได้

ไม่มีเอนไซม์beta-galactosidase

ย่อย X-gal ได้ท�

ำให้มองเห็น

โคโลนีของแบคทีเรียเป็นสีขาว

เอนไซม์ beta-galactosidase

ย่อย X-gal ได้สารสีฟ้า ท�

ำให้

มองเห็นโคโลนีของแบคทีเรีย

เป็นสีฟ้า

วิธีการท�

ำกิจกรรม

1. นักเรียนแต่ละคนเขียนล�

ำดับเบสและยีนที่ต้านทาน

ยาปฏิชีวนะแอมพิซิลลินลงแถบบนกระดาษสีฟ้าดังภาพ

ส�

ำหรับใช้เป็นพลาสมิด หรือ download ได้จาก http://

biology.ipst.ac.th/?p=2828