

นิตยสาร สสวท.
4
ในปัจจุบันมีการสร้ างพลาสมิดที่มีส่วนของยีน
ที่ต้านยาปฏิชีวนะ เช่น แอมพิซิลลิน (
amp
R
) เพื่อ
ใช้เป็นเครื่องหมายในการคัดเลือก (selectable marker)
เซลล์แบคทีเรียที่ได้รับพลาสมิด ซึ่งจะเจริญได้ในอาหารเลี้ยง
เชื้อที่ใส่ยาปฏิชีวนะแอมพิซิลลิน อย่างไรก็ตามเซลล์แบคทีเรีย
ที่ได้รับพลาสมิดทุกเซลล์จะเจริญได้แม้ว่าพลาสมิดที่อยู่
ในเซลล์นั้นจะไม่มีชิ้น DNA ที่ต้องการแทรกอยู่ก็ตาม
จึงไม่สามารถบอกได้ว่าโคลนใดมีชิ้น DNA หรือยีนที่
ต้องการ ดังนั้นในการสร้างพลาสมิดจึงใส่ยีน
lac
Z ที่
ควบคุมการสร้างเอนไซม์ beta-galactosidase เพื่อใช้
เป็นยีนรายงานผล (reporter gene) ว่าพลาสมิดในเซลล์
แบคทีเรียนั้นมีชิ้น DNA ที่ต้องการแทรกอยู่หรือไม่
ซึ่งเซลล์เจ้าบ้านที่ได้รับ DNA รีคอมบิแนนท์จะมีลักษณะที่
ต่างไปจากเดิม นอกจากนี้ในยีน
lac
Z มีต�
ำแหน่งตัด
จ�
ำเพาะของเอนไซม์ตัดจ�
ำเพาะชนิดต่าง ๆ ที่สามารถใส่ชิ้น
DNA ที่ต้องการแทรกเข้าไปเพื่อให้สะดวกในการโคลนยีน
ดังภาพที่ 2 และภาพที่ 3
ภาพที่ 2 พลาสมิดที่มีเครื่องหมายในการคัดเลือกและ
ยีนรายงานผล
ภาพที่ 3 ขั้นตอนการสร้าง DNA รีคอมบิแนนท์
ต�
ำแหน่งตัดจ�
ำเพาะ
พลาสมิด
ยีน
lac
Z ควบคุม
การสร้าง เอนไซม์
beta-galactosi-
dase
ต�
ำแหน่งตัดจ�
ำเฉพาะ
ตัดสายDNAด้วยเอนไซม์
ตัดจ�
ำเพาะชนิดเดียว
กับที่ใช้ตัดพลาสมิด
ผสมพลาสมิดและสาย DNA ที่ตัด
ด้วยเอนไซม์ตัดจ�
ำเฉพาะแล้ว
สาย DNA เชื่อมต่อกับพลาสมิด
ด้วยเอนไซม์DNA ligase
ได้DNA รีคอมบิแนนท์
สาย DNA ที่มียีนที่ต้องการ
สาย DNA
ยีนที่ต้องการ
ยีนต้านทานยา
ปฏิชีวนะ
แอมพิซิลลิน
Eco
RI
Kpn
I
Bam
HI
Xma
I
Sma
I
Xba
I
lac
Z
gene
amp
R
gene
Origin of
replication
Bsp
MI
Sph
I
Hin
dIII
Sac
I
Hin
cII
Acc
II
Pst
I
SaI
I
lac
Z
amp
R