Table of Contents Table of Contents
Previous Page  37 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 37 / 62 Next Page
Page Background

31

ปีที่ 44 ฉบับที่ 201 กันยายน - ตุลาคม 2559

บรรณานุกรม

ความหมายและหลักการเกิดภาพเคลื่อนไหว. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2559, จาก

https://filmv.wordpress.com/unit-1/ความหมายและหลักการเกิด.

จอห์น เฮอร์เชล. สืบค้นเมื่อ 2 สิงหาคม 2559, จาก

https://th.wikipedia.org

.

ขั้นตอนการจัดกิจกรรม

สรุป

3.

จากการท�ากิจกรรมในครั้งนี้ ผู้เรียนได้รับทั้งความรู้ ความสนุกสนาน

และใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ อีกทั้งยังได้รับความรู้ในเชิงทฤษฎีที่เชื่อมโยงไปสู่

กิจกรรมในชีวิตประจ�าวัน และเป็นพื้นฐานในการคิดที่สามารถน�าไปสร้างนวัตกรรม

ใหม่ๆ และน�าไปสู่การสร้างเทคโนโลยีได้ต่อไป

1. กระตุ้นความสนใจของนักเรียน

ด้วยการถามค�าถามที่เกี่ยวข้อง

กับชีวิตประจ�าวัน เช่น นักเรียนเคยดูการ์ตูนหรือแอนิเมชันหรือไม่

และรู้หรือไม่ ว่าการ์ตูนหรือแอนิเมชันเคลื่อนไหวได้อย่างไร

2. ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยการถามค�าถามเกี่ยวกับภาพ

เคลื่อนไหว เช่น ภาพเคลื่อนไหวนี้ประกอบด้วยภาพนิ่งกี่ภาพ

3. ลงมือ

แจกอุปกรณ์และอธิบายขั้นตอนการด�าเนินกิจกรรม ดังนี้

1) ให้ผู้เรียนระบายสีลงบนกระดาษต้นแบบตามความชอบ

2) ตัดกระดาษต้นแบบตามรอยวงกลม

3) น�าต้นแบบที่เป็นภาพการ์ตูนทากาว แล้วน�ามาประกบบน

กระดาษแข็งที่เจาะรู

4) เจาะรูเพื่อร้อยเชือก

5) ร้อยเชือกทั้งสองด้าน เมื่อท�าตามขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว

ก็จะได้ธัมมาโทรป ดังภาพ

6) ให้ผู้เรียนทดลองเล่นธัมมาโทรป โดยจับเชือกทั้งสองด้าน

ตรึงให้แน่นแล้วหมุนพลิกไปพลิกมาแบบเร็วๆ จะเห็นว่า

ภาพทั้งสองด้านมีการเชื่อมโยงเข้าด้วยกันคือ ภาพนกอยู่

ในกรง ภาพกระต่ายอยู่ในกรง และภาพปลาอยู่ในอ่างปลา

4. สรุปความรู้

ด้วยตัวอย่างวีดิทัศน์การท�า

Flipbook ซึ่งในวีดิทัศน์นี้ Flipbook เกิดจาก

ภาพนิ่งหลายภาพ ที่เปลี่ยนอริยาบถเพียง

เล็กน้อย จนท�าให้มีความรู้สึกว่าภาพนิ่ง

ได้มีการเคลื่อนไหวจริงจึงท�าให้ผู้เรียนเกิด

ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น

รูปที่ 6

ธัมมาโทรป (Thaumatrope)

รูปที่ 5

นักเรียนก�าลังประดิษฐ์ธัมมาโทรป

7ี

ที่ ับี่ 2ั นุ

Play Video