Table of Contents Table of Contents
Previous Page  35 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 35 / 62 Next Page
Page Background

ดร.เปียทิพย์ พัวพันธ์ • ผู้ชำ�นาญ ฝ่ายนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ สสวท. • e-mail:

pphua@ipst.ac.th

29

ปีที่ 44 ฉบับที่ 201 กันยายน - ตุลาคม 2559

รอบรู้

เทคโนโลยี

ดร.เปียทิพย์ พัวพันธ์ • ผู้ช�านาญ ฝ่ายนวัตกรรมและเทคโน ลยีเพื่อการเี ยนรู้ ส ว . • e- il

i t.ac.th

การเกิดภาพเคลื่อนไหว

การเกิดภาพเคลื่อนไหว

การเกิดภาพเคลื่อนไหว

าริ ดภาพ

ลื่อนไ วู้

เี

35ี

ที่ ับี่ 2ั นุ

การจัดกิจกรรมแสดง

ในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

งานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติประจ�ำ

ปี 2559 ที่สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

(สสวท.) ได้จัดกิจกรรม Workshop เป็นกิจกรรมหนึ่งที่มุ่งส่งเสริมให้ผู้ที่

เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ผู้เขียนได้น�ำหลักการต่างๆ

มาประยุกต์เพื่อจัดกิจกรรมที่ใช้ชื่อว่า “การเกิดภาพเคลื่อนไหว” เพื่อ

ประกอบการบรรยายด้วย Power Point และเพื่อเสริมความรู้ความเข้าใจ

เบื้องต้นให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยครูผู้สอนสามารถน�ำไปใช้จัดกิจกรรม

การเรียนการสอนของตนเองได้

หลักการที่ใช้อธิบายการเห็นภาพต่อเนื่องของสายตามนุษย์ หรือทฤษฎี

การเห็นภาพติดตา ถูกคิดค้นขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2367 โดยนักทฤษฎีและแพทย์

ชาวอังกฤษ ชื่อ Dr. John Ayrton Paris ทฤษฎีนี้ได้อธิบายการมองเห็นภาพอย่าง

ต่อเนื่องของสายตามนุษย์ว่า ธรรมชาติการเห็นของมนุษย์ เวลาเห็นภาพใดภาพหนึ่ง

หลังจากที่ภาพนั้นหายไป สายตามนุษย์ก็จะยังค้างภาพนั้นไว้ที่เรตินาในชั่วเวลาหนึ่ง

ที่นานประมาณ 1/15 วินาที และถ้าในระยะเวลาดังกล่าวมีภาพใหม่ปรากฏขึ้นแทนที่

สมองของมนุษย์จะเชื่อมโยงสองภาพเข้าด้วยกัน และหากมีภาพต่อไปปรากฏขึ้นใน

เวลาไล่เลี่ยกันสมองก็จะเชื่อมโยงภาพไปเรื่อยๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าชุดภาพนิ่งที่

แต่ละภาพมีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยหรือเป็นภาพที่มีลักษณะขยับเคลื่อนไหว

อย่างต่อเนื่องกัน ถ้าน�ำภาพมาเคลื่อนที่ผ่านสายตาเราอย่างต่อเนื่อง ภายในระยะ

เวลากระชั้นชิด เราสามารถเห็นภาพนั้น เคลื่อนไหวได้

กิจกรรมนี้ประกอบไปด้วยการให้ความรู้เชิงทฤษฎีตามหัวข้อที่ 1 วัสดุอุปกรณ์ตามหัวข้อที่ 2 และขั้นตอนการจัด

กิจกรรมตามหัวข้อที่ 3 ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

รูปที่ 1

กิจกรรม Workshop ในงาน

รูปที่ 2

Dr. John Ayrton Paris

ที่มา

https://en.wikipedia.org/wiki/John_Ayrton_Paris

รูปที่ 3

ตัวอย่างภาพที่มีลักษณะขยับเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง

ที่มา

http://nubiz.in/2d-3d-animation-company.php

ทฤษฎีการเกิดภาพติดตา

1.