

44
นิตยสาร สสวท
ภาพ 3
การท�ำงานของเรือด�ำน�้ำ
ภาพ 1
เมื่อใช้มือบีบขวด
ปริมาตรอากาศในหลอดลดลง
ภาพ 2
เมื่อคลายมือที่บีบขวด
ปริมาตรอากาศในหลอดเพิ่มขึ้น
3. เมื่อคลายมือที่บีบขวดน�้ำ หลอดที่อุดด้วยดินน�้ำมัน
ซึ่งจมอยู่ด้านล่าง สามารถลอยขึ้นมาได้เพราะเหตุใด
• เมื่อบีบขวดน�้ำที่ปิดฝาสนิท น�้ำจะมี
แรงกระท�ำต่อหลอดที่อุดด้วยดินน�้ำมันในทุกทิศทาง
มากขึ้น ซึ่งจะดันหลอดให้แฟบลง ปริมาตรของ
อากาศในหลอดจึงน้อยลง ส่งผลให้ปริมาตรของ
หลอดที่อุดด้วยดินน�้ำมันลดลง แต่มวลยังเท่าเดิม
ค่าความหนาแน่นจึงมากขึ้น และมีค่ามากกว่าน�้ำ
หลอดจึงจมลง ดังภาพ 1
• เมื่อคลายมือที่บีบขวดน�้ำออก น�้ำมี
แรงกระท�ำต่อหลอดที่อุดด้วยดินน�้ำมันน้อยลง
ท�ำให้หลอดไม่แฟบ ปริมาตรของอากาศในหลอด
จะเพิ่มขึ้นจากตอนที่บีบขวด ปริมาตรของหลอด
ที่อุดด้วยดินน�้ำมันจึงเพิ่มขึ้น แต่มวลยังเท่าเดิม
ค่าความหนาแน่นจึงน้อยกว่าตอนที่บีบขวด และมี
ค่าน้อยกว่าน�้ำ หลอดจึงลอยกลับขึ้นไปได้เหมือนเดิม
ดังภาพ 2
4. หลอดที่อุดด้วยดินน�้ำมันมีความเหมือนและความแตกต่างจากเรือด�ำน�้ำจริงอย่างไร
การเคลื่อนที่
มือบีบ
มือบีบ
การเคลื่อนที่