Table of Contents Table of Contents
Previous Page  39 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 39 / 62 Next Page
Page Background

39

ปีที่ 46 ฉบับที่ 214 กันยายน - ตุลาคม 2561

ตัวอย่างที่ 2 การเคลื่อนที่แบบ Simple Pendulum

ภาพ 7

แผนภาพระบบการเคลื่อนที่ของลูกตุ้มที่ใช้มุมแกว่งขนาดเล็ก

ข้อมูลที่ก�ำหนดให้และสิ่งที่ต้องการ

หาค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงที่ผิวโลก จากการทดลองการเคลื่อนที่ของลูกตุ้ม

ที่ใช้มุมแกว่งขนาดเล็ก (Simple Pendulum) ด้วยการเปลี่ยนความยาวของเชือกที่ใช้แขวนมวลแล้วจับแกว่ง ดังภาพ 7 และ

จับเวลาการแกว่งเมื่อครบ 10 รอบ โดยมีข้อมูลดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3

ข้อมูลเวลาที่ใช้แกว่งลูกตุ้มด้วยมุมแกว่งขนาดเล็ก

ครบ 10 รอบ

ความยาวเชือก

(cm)

เวลาในการแกว่ง 10 รอบ (s)

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3

30.51

11.23

11.05

10.92

40.15

13.02

12.98

12.75

51.25

14.57

14.27

14.45

61.23

15.87

15.98

16.02

72.46

17.19

17.09

17.24

81.37

18.04

18.18

18.21

92.38

19.22

19.34

19.19

99.97

20.19

20.38

20.27

110.04

21.54

21.59

21.43

120.67

22.38

22.29

22.45

130.80

23.14

23.09

23.25

140.21

24.67

24.59

24.68

วิธีท�ำ

เมื่อพิจารณาระบบการแกว่งของลูกตุ้มด้วยมุมขนาดเล็กจากแหล่งอ้างอิง (ที่รวมถึงเอกสารประกอบการเรียนต่างๆ

เช่น เอกสารอ้างอิง 5) จะพบว่าคาบการแกว่งมีความสัมพันธ์กับความยาวเชือกเป็น

ดังนั้น เมื่อใช้ความสัมพันธ์ระหว่างคาบ (T) และรากที่สองของความยาวเชือก จะพบว่า

ดังนั้น จึงค�ำนวณเวลาเฉลี่ยในการแกว่ง 10 รอบของลูกตุ้ม คาบ และรากที่สองของความยาวเชือก และแปลง

ปริมาณที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนเป็นหน่วย SI ได้ ดังตารางที่ 4

11

12