Table of Contents Table of Contents
Previous Page  37 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 37 / 62 Next Page
Page Background

37

ปีที่ 46 ฉบับที่ 214 กันยายน - ตุลาคม 2561

ภาพ 5

แผนภาพระบบมวลถ่วงสปริง

แผนภูมิแท่ง (Bar Graph)

แผนภูมิวงกลม (Pie Graph)

การวาดกราฟแบบกระจาย (Scatter Plot)

ภาพ 3

ตัวอย่างแผนภูมิแท่งของจ�ำนวนนักเรียนที่ได้แต่ละเกรด

ภาพ 4

ตัวอย่างแผนภูมิวงกลม

เป็นการแสดงการกระจายของข้อมูลคล้ายกับ Histogram โดย

ในแกนนอนจะเป็นที่ข้อมูลเชิงปริมาณ ซึ่งไม่จ�ำเป็นต้องมีความสัมพันธ์

เชิงคณิตศาสตร์กับข้อมูลจ�ำนวนหรือความถี่ในแกนตั้ง ดังนั้น แท่งข้อมูล

ความถี่ที่สร้างขึ้นจึงอยู่ห่างกัน ดังตัวอย่างในภาพ 3

เป็นการแสดงข้อมูลของแต่ละส่วนเมื่อเทียบกับข้อมูล

ทั้งหมด ดังภาพ 4 ซึ่งแสดงร้อยละของนักเรียนที่ได้แต่ละเกรด

จากข้อมูลในภาพ 3

เป็นแผนภูมิที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้น (Independent Variable) และตัวแปรตาม (Dependent Variable)

โดยให้มีตัวแปรต้นอยู่บนแกนนอนและตัวแปรตามอยู่บนแกนตั้ง ในกราฟแบบกระจายควรแสดงค่าตัวแปรตามที่วัดได้ในรูป

ของค่าเฉลี่ย และค่าความคลาดเคลื่อนที่เกี่ยวข้องในรูปของ Error Bar ส่วนประกอบของกราฟจะมีชื่อกราฟ ชื่อตัวแปร

บนแกนตั้งและแกนนอนควรใส่หน่วยด้วย ข้อมูลในแต่ละจุดควรมีเลขนัยส�ำคัญและมีทศนิยมเหมือนกัน และมีการลากเส้นแนว

โน้มและค�ำนวณค่าตัวแปรเสริม (Parameter) ที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นและตัวแปรตาม ดังภาพ 6 และ 8

ซึ่งเป็นผลการทดลองของตัวอย่างที่ 1 และ 2

ตัวอย่างที่ 1 Hooke’s law

ตารางที่ 1

ข้อมูลระยะยืดออกจากต�ำแหน่งสมดุลของสปริง

เมื่อแขวนมวลที่มีขนาดต่างๆ

ข้อมูลที่ก�ำหนดให้และสิ่งที่ต้องการ

หาค่าคงตัวของสปริง

เมื่อมีมวลขนาดต่างๆ กันถ่วงสปริง (ให้มวลของสปริงมีค่า

น้อยมากเมื่อเทียบกับมวลที่ถ่วง) ดังภาพ 5 และผลการวัด

ระยะยืดออกจากต�ำแหน่งสมดุลเมื่อมีมวลมาถ่วง ดังแสดง

ในตารางที่ 1

มวล (g)

ระยะยืดออกจากต�ำแหน่งสมดุล (cm)

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3

200

1.49

1.52

1.48

250

2.98

2.87

2.91

300

4.49

4.43

4.51

350

6.14

6.18

6.24

400

7.48

7.52

7.49

จ�ำนวนนักเรียนที่ได้เกรดนั้น (คน)

เกรด

ร้อยละของนักเรียนที่ได้แต่ละเกรด