

33
ปีที่ 46 ฉบับที่ 214 กันยายน - ตุลาคม 2561
ภาพ 5
การชั่งน�้ำหนักไส้เดือน
ที่มา
http://www.thaiarcheep.com/เลี้ยงไส้เดือน-ประโยชน์.htmlจากกิจกรรมการเลี้ยงไส้เดือน จะเห็นได้ว่าในชีวิตจริงศาสตร์ทั้ง 4 ที่กล่าวมาแล้วไม่ได้แยกออกจากกัน ในทาง
ตรงกันข้ามยังมีความเกี่ยวข้องกันอย่างเป็นเนื้อเดียว และยังสามารถขยายความรู้และความสามารถไปบูรณาการศาสตร์
อื่นๆ ด้วย ไม่ว่าจะเป็นภาษาอังกฤษและภาษาไทย ก็สามารถน�ำมาใช้ในการสื่อสารน�ำเสนอข้อมูลต่างๆ ให้ผู้สนใจ
การออกแบบลวดลายให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์และดึงดูดความสนใจ ก็ต้องใช้ความเข้าใจทางศิลปะ (Art) ด้วยเหตุนี้
การเลี้ยงไส้เดือนดินจึงเป็นแนวทางที่ครูสามารถน�ำมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนที่ฝึกทักษะชีวิต และประกอบอาชีพ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เกี่ยวข้องกับสะเต็ม (STEM Related Jobs) ให้กับนักเรียนได้เป็นอย่างดี และสอดคล้องกับการเรียนรู้
ของผู้เรียนที่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งยังเหมาะสมกับแนวโน้มการศึกษาที่เน้นการเรียนการสอนเพื่อชีวิต (Learning for Life)
มากกว่าการเรียนรู้เพื่อการท�ำข้อสอบหรือเพื่อท�ำคะแนนในโรงเรียนเท่านั้น (Learning for School)
บรรณานุกรม
Curry J.P. & Schmidt. (2007). The feeding ecology of earthworms - A review.
Pedobiologia.
50, 463-477.
Sharma S, Pradhan K, Satya S. & Vasudevan P. (2005). Potentiality of earthworms for waste management and in other uses – a review.
The Journal of American Science.
1, 4-16.
Velando A., Domínguez J., & Ferreiro A. (2006). Inbreeding and outbreeding reduces cocoon production in the earthworm Eisenia Andrei.
European Journal of Soil Biology.
42, 354-357.
อุทัยวรรณ โกวิทวที วีระศักดิ์ ฟุ้งเฟื่อง อภิญญา หิรัญวงษ์ วรรณวิภา วงศ์แสงนาค วียะวัฒน์ ใจตรง และจักรพันธ์ ทรัพย์แก้ว. (2559).
การเพาะเลี้ยง
ไส้เดือนและผลิตภัณฑ์จากไส้เดือน
. เอกสารประกอบการอบรมโครงการวิจัยย่อย “แหล่งเรียนรู้ทางด้านสัตว์” ภายใต้ชุดโครงการวิจัย
“โครงการน�ำร่องการสร้างองค์ความรู้และแหล่งเรียนรู้ด้านทรัพยากรดิน น�้ำ อากาศ และความหลากหลายทางชีวภาพ สวนป่าเกดน้อมเกล้า
ต�ำบลทรงคะนอง อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ”. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.