Previous Page  42 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 42 / 62 Next Page
Page Background

42

นิตยสาร สสวท.

ตัวอย่าง : ระบบแบ่งปันความลับแบบ 3–ใน–5

ในที่นี้ เราแบ่งข้อมูลที่เกี่ยวกับความลับให้แก่คน 5 คน และ

เมื่อนำ

�ส่วนความลับของ 3 คนใด ๆ ในจำ

�นวน 5 คนนี้มาประกอบ

กันแล้ว ทำ

�ให้คำ

�นวณหาความลับ K ได้

1. เลือก a

0

= 3 เป็นความลับ K

2. เลือก y = 3 – 2x + x

2

เป็นสมการของพาราโบลาที่ตัด

แกน y ที่จุด (0, 3)

3. เลือกจุด (1, 2), (–2, 11), (3, 6), (–4, 27) และ (7, 38)

เป็นจุด 5 จุด บนพาราโบลา

y = 3 – 2x + x

2

มอบแต่ละจุดให้เจ้าหน้าที่ 5 คน เจ้าหน้าที่แต่ละคนต้องเก็บ

จุดที่ได้รับแบ่งปันไว้เป็นความลับ

4. ในการคำ

�นวณหาความลับ K เมื่อคนสามคนนำ

�จุด 3 จุด

ที่แต่ละคนได้รับแบ่งปัน สมมุติว่าเป็นจุด (1, 2), (–2, 11) และ

(3, 6) เนื่องจากจุดทั้งสามนี้อยู่บนพาราโบลา เราสามารถคำ

�นวณ

หาสมการของพาราโบลาที่ผ่านจุดทั้งสามนี้ โดยการแทนค่า x

และ y ที่เป็นพิกัดของแต่ละจุดในสมการ (2) ดังนี้

จากจุด (1, 2) : a

0

+ a

1

+ a

2

= 2 แทน x = 1, y = 2

จากจุด (–2, 11) : a

0

– 2a

1

+ 4a

2

= 11 แทน x = –2,

y = 11

จากจุด (3, 6) : a

0

+ 3a

1

+ 9a

2

= 6 แทน x = 3, y = 6

เราได้ระบบสมการเชิงเส้นที่มี 3 สมการ และมี 3 ตัวแปร

จากความรู้เรื่องการหาผลเฉลยของระบบสมการ เราได้

a

0

= 3, a

1

= – 2 และ a

2

= 1

ดังนั้น สมการของพาราโบลาที่ผ่านจุด (1, 2), (–2, 11) และ

(3, 6) คือ y = 3 – 2x + x

2

นั่นคือ K = 3

ระบบแบ่งปันความลับแบบ t–ใน–n

ในการสร้างระบบ t–ใน–n เราเลือกจุด a

0

บนแกน y ให้

เป็นความลับ K และเลือกจุด n จุดที่อยู่บนเส้นโค้ง

y = a

0

+ a

1

x + a

2

x

2

+ … + a

t -1

x

t –1

..........(3)

มอบจุดเหล่านี้ให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องเก็บไว้เป็นความลับ จะ

เห็นว่าดีกรีของพหุนาม (3) คือ t – 1 ซึ่งน้อยกว่าจำ

�นวนจุดที่

เลือกอยู่ 1 แทนจุด t จุดเหล่านี้ใน (3) จะได้สมการ t สมการที่

มีตัวไม่รู้ค่า t ตัว คือ a

0

, a

1

, …, a

t – 1

สมมุติว่าจุด t จุดนั้นคือ

(x

1

, y

1

), (x

2

, y

2

), …, และ (x

t

, y

t

) เนื่องจากจุดเหล่านี้อยู่บนเส้น

โค้ง (3) แทนค่า x และ y ใน (3) ดังนี้

จากจุด (x

1

, y

1

) :

y

1

= a

0

+ a

1

x

1

+ a

2

(x

1

)

2

+ …+

a

t – 1

(x

1

)

t – 1

จากจุด (x

2

, y

2

) :

y

2

= a

0

+ a

1

x

2

+ a

2

(x

2

)

2

+ … +

a

t – 1

(x

2

)

t – 1

จากจุด (x

t

, y

t

) :

y

t

= a

0

+ a

1

x

t

+ a

2

(x

t

)

2

+ … +

a

t

– 1

(x

t

)

t – 1

เราได้ระบบสมการที่ประกอบด้วย t สมการและมีตัวแปร t

ตัว ซึ่งสามารถเขียนในรูปเมทริกซ์ได้ดังนี้

เมทริกซ์ที่อยู่ซ้ายสุดเป็นเมทริกซ์ที่รู้จักกันในชื่อ

Vandermonde Matrix เป็นเมทริกซ์ซึ่งรู้กันว่ามีดีเทอร์

มิแนนต์ไม่เป็นศูนย์ และจากความรู้ในเรื่องพีชคณิตเชิงเส้น

สรุปได้ว่าระบบสมการข้างบนนี้มีผลเฉลยเพียงชุดเดียว นั่น

คือ มีพหุนามเดียวที่ผ่านจุด (x

1

, y

1

), (x

2

, y

2

), …, (x

t

, y

t

)

บรรณานุกรม

Trappe, Wade, & Washington, Lawrence C. (2006).

Introduction to Crypto-

graphy : with Coding Theory

. (2

nd

edition). New Jersey, Prentice-Hall.

...

...

...

...

...

=

...

...

...

1

x

1

x

1

...

x

1

a

0

y

1

1

x

2

x

2

...

x

2

a

1

y

2

1

x

t

x

t

...

x

t

a

t-1

y

t

2

2

2

t-1

t-1

t-1