Previous Page  41 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 41 / 62 Next Page
Page Background

41

ปีที่ 41 ฉบับที่ 181 มีนาคม - เมษายน 2556

y = 2x+7

y

x

y =

x

–2

K

สำ

�หรับครูที่สอนเรื่องสมการเส้นตรง สามารถนำ

�ความรู้เรื่อง

นี้ทำ

�เป็นโครงงานนิทรรศการ เพื่อให้นักเรียนเล่นเป็นกิจกรรม

เสริมหลักสูตรได้ โดยแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 6 คน ให้

ทั้ง 6 คน ที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน จับเป็นคู่ ๆ เพื่อแข่งขันกันคำ

�นวณ

หาความลับ K ผู้ที่ไขความลับได้ก่อนเป็นผู้ชนะ กิจกรรมนี้จะช่วย

ให้การเรียนสนุกสนานและจดจำ

�เนื้อหาได้แม่นยำ

�ขึ้น

ระบบแบ่งปันความลับแบบ 3–ใน–n

ทำ

�ได้โดยใช้หลักคณิตศาสตร์ง่าย ๆ เช่นกัน เป็นที่รู้กันว่า

จุด 3 จุด ใด ๆ บนระนาบ กำ

�หนดพาราโบลาได้เพียงพาราโบลา

เดียว สมการทั่วไปของพาราโบลาคือสมการกำ

�ลังสองที่อยู่ในรูป

y = a

0

+ a

1

x + a

2

x

2

……… (2)

จะเห็นว่าเมื่อ x = 0, y = a

0

แสดงว่า (0, a

0

) เป็นจุดที่

พาราโบลาตัดกับแกน y ดังนั้น เราเลือก a

0

บนแกน y ให้เป็น

ความลับ K และเลือกจุด n จุด บนพาราโบลานั้นที่ไม่ใช่จุด (0,

a

0

) มอบจุดเหล่านี้ให้ผู้เกี่ยวข้อง n คน เก็บไว้เป็นความลับส่วน

ของตน เมื่อสามคนใด ๆ นำ

�ความลับส่วนของตนมาประกอบ

กัน ก็จะสามารถหาสมการของพาราโบลานั้นได้ ซึ่งจะทำ

�ให้รู้ a

0

บนแกน y ที่เป็นความลับ K ได้ เพื่อความสะดวกในการอธิบาย

จะขอยกตัวอย่างการสร้างระบบแบ่งปันความลับแบบ 3-ใน-5

เมื่อได้สมการของเส้นตรง M แล้ว เจ้าหน้าที่สองคนนั้นจะ

ต้องหาจุดตัดของเส้นตรง L และ M ซึ่งจะต้องใช้ความรู้เรื่องการ

แก้สมการ หาผลเฉลยของระบบสมการเชิงเส้นที่มีสองตัวแปร

และมีสองสมการ ผลเฉลยที่ได้ก็คือจุดที่เป็นจุดตัดของเส้นตรง

L และ M นั่นเอง

ตัวอย่าง : ระบบแบ่งปันความลับแบบ 2–ใน–6

ในที่นี้ เราแบ่งข้อมูลที่เกี่ยวกับความลับ K ให้แก่คน 6 คน ซึ่ง

เมื่อนำ

�ส่วนความลับของ 2 คนใด ๆ ในจำ

�นวน 6 คนนี้มาประกอบ

กันแล้ว ทำ

�ให้สร้างหรือคำ

�นวณหาความลับ K ได้

1. สมมุติว่าเลือกจุด (–3, 1) ให้เป็นความลับ K

2. เลือก L ให้เป็นเส้นตรงซึ่งมีสมการ y = 2x + 7 โปรด

สังเกตว่าเส้นตรงนี้มีความชัน m = 2 และจุด (–3, 1) อยู่บนเส้น

ตรงนี้ สมการนี้ไม่เป็นความลับ สามารถประกาศให้สาธารณะรู้

ได้ แต่จุด (–3, 1) ต้องเก็บเป็นความลับ

3. เลือก y = –x – 2 ให้เป็นสมการของเส้นตรง M ซึ่งมี

ความชัน m = –1 และผ่านจุด (–3, 1) เก็บสมการของเส้นตรง

นี้ไว้เป็นความลับ

4. เลือกจุด (–4, 2), (–1, –1), (0, –2), (1, –3), (2, –4)

และ (3, –5) เป็นจุด 6 จุด บนเส้นตรง M มอบแต่ละจุดให้เจ้า

หน้าที่แต่ละคนซึ่งอยู่ในระบบ เจ้าหน้าที่แต่ละคนต้องเก็บจุดที่

ได้รับไว้เป็นความลับ

5. ในการหาเส้นตรง M สมมุติว่าเจ้าหน้าที่คนที่สองและ

คนที่ห้า ซึ่งได้รับจุด (–1, –1) และ (2, –4) ตามลำ

�ดับ เขาทั้ง

สองสามารถคำ

�นวณหาเส้นตรง M ได้โดยใช้สูตร (1) สำ

�หรับหา

สมการเส้นตรงที่ผ่านจุดสองจุด ดังนี้

y + 1 = –(x + 1)

y = –x – 2

6. ในการคำ

�นวณหาความลับ K เจ้าหน้าที่ทั้งสองจะต้องหาจุด

ตัดระหว่างเส้นตรง L และ M โดยแก้ระบบสมการต่อไปนี้

y = 2x + 7

สมการของเส้นตรง L

y = –x – 2

สมการของเส้นตรง M

นำ

�สมการสองไปลบออกจากสมการแรก จะได้

0 = 3x + 9

x = –3

แทนค่า x = –3 ใน y = –x – 2 จะได้ y = –(–3) – 2 = 1

ดังนั้น จุดตัดระหว่างเส้นตรง L และ M คือ K = (–3, 1) ดังรูป

=

y - (-1) –4 - (- 1)

x - (-1) 2 - (- 1)