

47
ปีที่ 41 ฉบับที่ 184 กันยายน - ตุลาคม 2556
ยิ่งขึ้น เพราะโดยส่วนตัวมองว่าการทำ
�วิจัยซึ่งเป็นสิ่งหลักในการเรียน
ในระดับปริญญาเอกนั้นเปรียบเสมือน “การทำ
�งาน” มากกว่า “การ
เรียน” แต่อาศัยการเรียนรู้ไม่น้อยกว่ากันเลย ในการทำ
�วิจัยนั้น ต้อง
มีการแสวงหาความรู้และอ่านงานวิจัยอื่น ๆ อยู่ตลอดเวลา รวมทั้ง
การเรียนรู้เทคนิคการทดลองและข้อมูลใหม่ ๆ ที่เพิ่มขึ้น เพื่อนำ
�มา
ใช้ประกอบหรือปรับปรุงงานวิจัยของเรา ซึ่งอาจต้องเปลี่ยนแปลง
แนวทางการทำ
�วิจัยตามไป นอกจากนี้ยังปรับทัศนคติของผู้เขียนให้
เปิดกว้างและเตรียมพร้อมกับการเรียนรู้ที่อาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
การคิดเป็น
ทักษะที่ผู้เขียนได้เรียนรู้และฝึกฝนจากการไปศึกษาต่อที่คิดว่า
มีความสำ
�คัญมากอย่างหนึ่ง คือ ทักษะการคิด ซึ่งในที่นี้จะขอกล่าว
ถึงทักษะการคิดสองประเภท คือ การคิดวิเคราะห์ และการคิดที่
เป็นระบบ
เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2554 ที่ผ่านมา จำ
�ได้ว่าเป็นเวลา
ครบรอบ 10 ปีที่ผู้เขียนได้เป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันชีววิทยา
โอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Biology Olympiad) พอ
พยายามนึกถึงข้อสอบในปีที่ไปแข่งขันก็พบว่าจำ
�แทบไม่ได้แล้ว จึงได้
กลับไปดูข้อสอบของปีนั้น พอยิ่งดูก็ยิ่งประทับใจว่าข้อสอบนั้นน่าทำ
�
มาก จนตัดสินใจทำ
�ข้อสอบชีววิทยาโอลิมปิกของปีนั้นอีกครั้ง พอทำ
�
ดูก็พบว่าจำ
�รายละเอียดหลายส่วนไม่ได้แล้ว ซึ่งไม่ใช่เรื่องแปลก แต่สิ่ง
ที่ทำ
�ให้แปลกใจ คือ พบว่ากระบวนการคิดเพื่อตอบคำ
�ถามของตนนั้น
เปลี่ยนไปมาก แม้แต่ในส่วนของเนื้อหาที่ลืมไปแล้วก็ยังสามารถนำ
�วิธี
คิดนี้ไปช่วยได้ ข้อสอบชีววิทยาโอลิมปิกนั้นโดยส่วนใหญ่เป็นข้อสอบ
ที่เน้นการคิดวิเคราะห์ เช่น ให้สถานการณ์ การทดลอง หรือเล่าเรื่อง
งานวิจัย แล้วถามคำ
�ถามจากข้อมูลนั้น ๆ ซึ่งใช้การคิดวิเคราะห์ช่วย
ในการแก้ปัญหา และทักษะนี้นี่เองที่เป็นส่วนที่ผู้เขียนได้ฝึกฝนและ
มีการพัฒนาขึ้นในช่วงสิบปีที่ผ่านมา ทำ
�ให้เปลี่ยนจากการ “ทำ
�ได้”
มาเป็น “ทำ
�เป็น”
การคิดวิเคราะห์นั้นเกิดควบคู่กันกับการตั้งคำ
�ถามเกี่ยวกับสิ่งที่
ได้รับรู้มา เพราะหลังจากที่ได้รับฟังหรือรับรู้มาก็ต้องวิเคราะห์องค์
ระหว่างสอบปฏิบัติการ
ในการแข่งขันชีววิทยา
โอลิมปิก ณ กรุงบรัสเซลส์
ประเทศเบลเยียม
เมื่อปี พ.ศ. 2544
ประกอบและแง่มุมต่าง ๆ และคิดถามในส่วนที่ยังไม่กระจ่างหรือไม่
น่าเชื่อถือ จากนั้นก็ต้องคิดหาคำ
�ตอบโดยใช้การคิดวิเคราะห์ประกอบ
อีก ซึ่งผู้เขียนมีโอกาสได้ใช้แนวทางนี้ในตอนเรียนอยู่ตลอด แม้กระทั่ง
ในวิชาประวัติศาสตร์ ซึ่งไม่ได้มีการสอนว่ามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น
บ้าง แต่ใช้การวิเคราะห์สถานการณ์เป็นหลัก ว่าเกิดขึ้นเพราะอะไร ส่ง
ผลกระทบอย่างไร และเชื่อมโยงกับเหตุการณ์อื่น ๆ อย่างไร ซึ่งการตั้ง
คำ
�ถามนี้เป็นวิธีเริ่มต้นที่สามารถนำ
�ไปใช้ในห้องเรียนเพื่อให้นักเรียน
ฝึกฝนการคิดวิเคราะห์ได้ เช่น ครูอาจจัดแนวทางการสอนที่ใช้คำ
�ถาม
แนวคิดวิเคราะห์เพื่อนำ
�เข้าประเด็นหรือดำ
�เนินเรื่อง นอกจากนี้อาจ
ให้นักเรียนฝึกตั้งคำ
�ถามปลายเปิดที่เกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้มาในแต่ละ
วัน เพื่อฝึกขั้นเริ่มต้นของกระบวนการการคิดวิเคราะห์ด้วย แนวทาง
เหล่านี้ยังสามารถนำ
�ไปใช้ได้ แม้กระทั่งกับเด็กก่อนวัยเรียน โดยผู้
ปกครองอาจเริ่มจากการตั้งคำ
�ถามประกอบกิจกรรมการเล่นหรือสิ่ง
ที่พบเห็นรอบตัว เพื่อปลูกฝังและฝึกฝนการคิดตั้งแต่เยาว์วัย
ทักษะการคิดอีกประเภทที่ผู้เขียนได้เรียนรู้และฝึกฝนจากการ
ไปศึกษาต่อ คือ การคิดที่เป็นระบบ ซึ่งได้ฝึกฝนเป็นหลักจากการ
เรียนด้านชีวคำ
�นวณและชีวสารสนเทศ (computational biology
and bioinformatics) เพราะเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นงาน
หลัก การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นเป็นการสอนการคิดที่เป็น
ระบบ เนื่องจากเวลาเขียนโปรแกรมต้องคำ
�นึงถึงภาพรวมและองค์
ประกอบหลาย ๆ อย่างไปด้วยกัน เช่น ข้อมูลที่โปรแกรมต้องการ สิ่ง
ที่ต้องการได้จากโปรแกรม ขั้นตอนที่จะให้ได้มา และการนำ
�โปรแกรม
ไปใช้ นอกจากนี้ยังต้องคำ
�นึงถึงความผิดพลาดหรือปัญหาที่อาจเกิด
ขึ้นจากการที่ผู้ใช้โปรแกรมให้ข้อมูลที่ผิดหรือไม่ตรงกับสิ่งที่โปรแกรม
ต้องการ และต้องบริหารการเก็บข้อมูล และการใช้หน่วยประเมินผล
กลางด้วย การฝึกฝนการคิดที่เป็นระบบจากการเขียนโปรแกรมนี้ช่วย
ให้ผู้เขียนมองภาพรวมและรายละเอียดย่อยควบคู่ไปด้วยกัน รวมทั้ง
มองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองส่วน ซึ่งมีประโยชน์และสามารถ
นำ
�มาประยุกต์ใช้ในการทำ
�งานอื่น ๆ ได้จนถึงทุกวันนี้
การเชื่อมโยงที่ไม่มีขอบเขต
นอกจากการฝึกการคิดที่เป็นระบบแล้ว การเรียนด้าน
ชีวคำ
�นวณและชีวสารสนเทศนั้นส่งเสริมให้มองเห็นการเชื่อมโยง
และความสำ
�คัญของการบูรณาการความรู้ในการเรียนการสอนมาก
ยิ่งขึ้น เพราะสาขาวิชานี้มีการบูรณาการหลายวิชาเข้าด้วยกัน ตั้งแต่
ชีววิทยา เคมี คณิตศาสตร์ สถิติ ไปจนถึง วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
และในการเรียนการสอนนั้นจะต้องมีการเชื่อมโยงหัวข้อต่าง ๆ
ภายในแต่ละวิชาไปในเวลาเดียวกันด้วย ตัวอย่างเช่น ในการวิเคราะห์
จีโนมมนุษย์ ซึ่งไม่สามารถแยกมองในเพียงแง่เดียวของชีววิทยาได้
และต้องอาศัยเทคนิคและเทคโนโลยีที่นอกเหนือจากชีววิทยามาช่วย
เสมอ เพราะจีโนมมนุษย์ประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่านิวคลีโอ