Previous Page  44 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 44 / 62 Next Page
Page Background

44

นิตยสาร สสวท.

ถ้านำ

�ผึ้งตัวผู้ 1 ตัว มาพิจารณาหาบรรพบุรุษ โดยกำ

�หนดให้

แทนผึ้งตัวผู้ และ แทนผึ้งตัวเมีย จะได้ดังแผนภาพนี้

เมื่อพิจารณาจำ

�นวนผึ้งในแต่ละรุ่น จะได้ลำ

�ดับซึ่งสอดคล้อง

กับลำ

�ดับฟีโบนักชี (Fibonacci sequence) ดังนี้

1.

ลำ

�ดับของผลรวมของจำ

�นวนผึ้งในแต่ละรุ่น คือ 1, 1, 2,

3, 5, 8, 13, …

2.

ลำ

�ดับของจำ

�นวนผึ้งตัวเมียในแต่ละรุ่น คือ 0, 1, 1, 2, 3,

5, 8, …

3.

ลำ

�ดับของจำ

�นวนผึ้งตัวผู้ในแต่ละรุ่น คือ 1, 0, 1, 1, 2,

3, 5, …

มาถึงจุดนี้ผู้อ่านอาจสงสัยว่าลำ

�ดับฟีโบนักชีคืออะไร ดังนั้นผู้

เขียนจะขอกล่าวโดยสรุป ดังนี้

ในปี ค.ศ. 1202 นักคณิตศาสตร์ชาวอิตาลีชื่อว่า ลิโอนาร์โด

พิซาโน ฟีโบนักชี (Leonardo Pisano Fibonacci, ค.ศ. 1175 –

1250) ได้ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับการขยายพันธุ์ของกระต่าย จนได้

ลำ

�ดับฟีโบนักชี คือ 1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, 34, … ซึ่งสามารถ

เขียนได้ในรูปความสัมพันธ์เวียนเกิด F

n

= F

n–1

+ F

n–2

สำ

�หรับ

จำ

�นวนเต็มบวก n ที่มากกว่า 2 โดยที่ F

1

= 1 และ F

2

= 1

ผึ้งนางพญา

มีขนาดใหญ่กว่าผึ้งงาน และผึ้งตัวผู้ ผึ้งนางพญา

เป็นผึ้งตัวเมียมีเหล็กไนไว้ต่อสู้กับผึ้งนางพญาตัวอื่นเท่านั้น ในรัง

ผึ้งทั่วไปจะมีผึ้งนางพญาเพียงตัวเดียวเท่านั้น และหน้าที่หลักของ

ผึ้งนางพญา คือ ผสมพันธุ์ วางไข่ และควบคุมการทำ

�งานของผึ้ง

ทุกตัวภายในรัง แต่จะไม่ออกหาอาหาร เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ผึ้ง

นางพญาจะออกไปนอกรัง เพื่อผสมพันธุ์กับผึ้งตัวผู้ แล้วกลับมา

วางไข่ในรัง

ผึ้งงาน

เป็นผึ้งที่มีจำ

�นวนประชากรมากที่สุดในรังผึ้ง มีหน้า

ที่หาอาหาร ดูแลตัวอ่อน ซ่อมแซมรัง ทำ

�ความสะอาดรัง และ

ปกป้องรัง ผึ้งงานเหล่านี้จะเป็นผึ้งตัวเมีย แต่เป็นหมันไม่สามารถ

ขยายพันธุ์ได้

ผึ้งตัวผู้

จะมีขนาดของลำ

�ตัวอ้วนกว่าผึ้งนางพญา และผึ้งงาน

แต่ไม่มีเหล็กไน หน้าที่หลัก คือ ผสมพันธุ์กับผึ้งนางพญา เมื่อได้

ปฏิบัติหน้าที่แล้วก็จะตาย นอกจากนี้ยังมีเรื่องน่าเศร้าอีกเรื่อง

หนึ่ง คือ ถ้ารังผึ้งอยู่ในภาวะขาดแคลนอาหาร ผึ้งตัวผู้จะไม่ได้

รับอาหารจากผึ้งงาน และโดนคาบออกมานอกรัง จนต้องตาย

ไปในที่สุด ผึ้งตัวผู้เกิดจากไข่ของผึ้งนางพญาที่ไม่ได้รับการผสม

ซึ่งหมายความว่า “ผึ้งตัวผู้เป็นผึ้งที่มีแต่แม่ ไม่มีพ่อ”

รูปที่ 3 ผึ้งงาน ผึ้งตัวผู้ และผึ้งนางพญา โดยเรียงลำ

�ดับจากซ้ายไปขวา

(ที่มา:

http://www.extension.org/pages/21755/abdomen-of-the-honey-bee)

ในรังผึ้งจะแบ่งผึ้งออกเป็น 3 วรรณะ ได้แก่ ผึ้งนางพญา

(queen) ผึ้งงาน (worker) และผึ้งตัวผู้ (drone)

ลำ

�ดับ

การพิจารณา

ลำ

�ดับการ พิจารณา

จำ

�นวน

ผลรวม

8

5

3

2

1

1

0

7

6

5

4

3

2

1

5

3

2

1

1

0

1

13

8

5

3

2

1

1