Previous Page  3 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 3 / 62 Next Page
Page Background

ระบบการทำ

�งาน

ของสมองกับ

การเรียนการสอน

วิชาฟิสิกส์

(ตอนที่ 2)

กวิน เชื่อมกลาง

นักวิชาการ สาขาฟิสิกส์ สสวท. / e-mail :

kchau@ipst.ac.th

สวัสดีครับท่านผู้อ่านที่รักการเรียนรู้ทุกท่าน บทความนี้จะกล่าวถึงระบบการทำ

�งานของสมองกับการเรียนการสอนวิชาฟิสิกส์ ซึ่งเป็น

ตอนที่2 ครับ ต่อจากตอนที่1 เรื่องโมเดลการทำ

�งานของสมองแบบคู่หน่วยความจำ

� (A Dual StoreModel of Memory) ดังรูปที่1 นอกจาก

นี้ผมได้อธิบายการทำ

�งานของสมองในส่วนของหน่วยรับข้อมูลจากประสาทสัมผัส (Sensory Register) ที่ทำ

�หน้าที่รับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อม

ภายนอกเข้ามาในรูปแบบของการมองเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น การรับรส และการสัมผัส เพื่อส่งไปยังหน่วยประมวลผลของสมอง ซึ่งข้อมูล

ที่หน่วยรับข้อมูลจากประสาทสัมผัสนี้ ให้ความสนใจเป็นพิเศษจะต้องมีความโดดเด่นกว่าข้อมูลอื่นๆที่ประสาทสัมผัสรับเข้ามา ได้แก่ข้อความ

ที่ใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่ ข้อความที่มีสีสันที่เด่นสะดุดตา ข้อความที่ขีดเส้นใต้หรืออยู่ในกรอบ และข้อความที่มีเนื้อหาที่สอดคล้องกับความ

สนใจของผู้รับ

รูปที่ 1

ระบบการทำ

�งานของสมอง

สำ

�หรับในตอนที่ 2 นี้ ผมจะกล่าวถึงการทำ

�งานของ

หน่วยความ

จำ

�ระยะสั้น

(Short-term Memory)

ซึ่งในบทความนี้ผมจะขอ

เรียกหน่วยความจำ

�นี้ว่า

หน่วยความจำ

�สำ

�หรับการประมวลผล

(Working Memory)

โดยหน่วยความจำ

�นี้จะมีหน้าที่ในการ

ประมวลผลข้อมูลทั้งจากหน่วยรับข้อมูลจากประสาท

สัมผัส และหน่วยความจำ

�ส่วนสุดท้ายคือ

หน่วยความ

จำ

�ระยะยาว

(Long-term Memory)

ซึ่งจะได้กล่าว

ต่อไปในบทความตอนที่ 3 ครับ

หน่วยความจำ

�สำ

�หรับการประมวลผล

เปรียบ

เหมือนกระดาษทดให้กับสมองของเราเพื่อใช้ในการคิด

วิเคราะห์ สังเคราะห์ และคำ

�นวณ หรืออาจเปรียบเหมือน

กับแรม (RAM) ในวงจรของคอมพิวเตอร์ ผมอยากให้

ท่านผู้อ่านลองทำ

�การคำ

�นวณตัวเลขดังต่อไปนี้ในใจดูนะ

ครับ โดยในการคำ

�นวณนี้มีเงื่อนไขคือ ท่านผู้อ่านห้ามใช้

กระดาษทด เครื่องคิดเลข หรืออุปกรณ์อื่น ๆ เพื่อช่วยใน

การคำ

�นวณ และสามารถมองดูโจทย์ได้เพียงแค่ครั้งเดียว

เท่านั้น รบกวนขอให้ท่านผู้อ่านลองปิดหน้าบทความนี้จน

กระทั่งทำ

�การคำ

�นวณในใจเสร็จสิ้นแล้วนะครับ สำ

�หรับ

ตัวเลขที่ผมอยากจะให้ท่านผู้อ่านลองคำ

�นวณ ก็คือ...

7858 51 = ?

รอบรู้วิทย์

ปีที่ 42

|

ฉบับที่ 185

|

พฤศจิกายน-ธันวาคม 2556

3