Previous Page  6 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 6 / 62 Next Page
Page Background

รูปที่ 5

ตัวอย่างกิจกรรมที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำ

�งานของหน่วยความจำ

�สำ

�หรับการประมวลผล

บรรณานุกรม

Larkin, J. H. & Simon, H. A. (1987). Why a Diagram is (Sometimes) Worth Ten

Thousand Words.

Cognitive Science

,

11

, 65-100.

Levine, D. R. (1982). Strategy use and estimation ability of college students.

Journal for Research in Mathematics Education

,

13

, 350-359.

Miller, G. A. (1956). The magical number seven, plus or minus two: Some limits

on our capacity for processing information.

Psychological Review

,

63

(2),

81-97.

Ormrod, J. E. (2004).

Human Learning

(4th ed.). Upper Saddle River, NJ:

Pearson Prentice Hall.

Schneider, W., & Chein, J. (2003). Controlled & automatic processing:

Behavior, theory, and biological mechanisms.

Cognitive Science

,

27

,

525-559.

Shiffrin, R. M., & Schneider, W. (1977). Controlled and automatic human

information processing: II. Perceptual learning, automatic attending and

a general theory.

Psychological Review

,

84

(2), 127-190.

Tulving, E. (1983).

Elements of Episodic Memory

. New York: Oxford University

Press.

Tulving, E. (1993). What is episodic memory?

. Current Directions in

Psychological Science

,

2

(3), 67-70.

การตีความคำ

�ศัพท์ที่ไม่คุ้นเคยนั้น การที่กระบวนการการเรียน

รู้ทั้งหลายมักจะประกอบไปด้วยกิจกรรมย่อยจำ

�นวนมากทำ

�ให้สมอง

ต้องรับภาระหนักในการประมวลผลในขณะที่ทำ

�กิจกรรมนั้น ๆ

การ

ฝึกปฏิบัติอยู่เป็นประจำ

�จึงมีส่วนสำ

�คัญที่จะช่วยให้กิจกรรมย่อย

เหล่านี้กลายเป็นการทำ

�งานแบบอัตโนมัติ ซึ่งจะส่งผลให้พื้นที่

ของสมองในดำ

�เนินกิจกรรมย่อยในส่วนที่มีความยุ่งยากและซับ

ซ้อนมีเพิ่มมากยิ่งขึ้น

การทำ

�โจทย์แบบฝึกหัดอยู่เสมอ ๆ จะช่วย

ให้นักเรียนมีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาได้เร็วขึ้น และมี

พื้นที่ให้สมองใช้ในการคิดแก้ปัญหาโจทย์ที่ยุ่งยากซับซ้อนได้อย่างมี

ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

3. การทำ

�กิจกรรมเพื่อฝึกการจำ

�และการประมวลผล

ถึงแม้ว่า มนุษย์จะมีขนาดของหน่วยความจำ

�สำ

�หรับการ

ประมวลผลของสมองค่อนข้างจำ

�กัด แต่ก็มีกิจกรรมการละเล่นหลาย

กิจกรรมที่ครูและผู้ปกครองสามารถนำ

�ไปใช้ในการพัฒนาหน่วยความ

จำ

�สำ

�หรับการประมวลผลของนักเรียนและบุตรหลานให้ทำ

�งานอย่าง

มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำ

�คัญต่อการเรียน

รู้และการแก้ปัญหาโจทย์ในวิชาฟิสิกส์ กิจกรรมเหล่านี้เป็นกิจกรรม

ที่ออกแบบขึ้นมา เพื่อฝึกให้หน่วยความจำ

�สำ

�หรับการประมวลผล

ทำ

�งานที่หลากหลายในการคิด วิเคราะห์ และจำ

�ข้อมูลจำ

�นวนมาก

พร้อม ๆ กัน ตัวอย่างกิจกรรมเหล่านี้ เช่น

การเล่นหมากฮอส การ

เล่นหมากรุก หรือการเล่นหมากล้อม (โกะ)

เพื่อฝึกการจำ

�ตำ

�แหน่ง

ของตัวหมาก คิด วิเคราะห์ วางแผน และจำ

�แนวทางในการเดิน

หมากแต่ละตัว พร้อมกับการคิดหาวิธีตั้งรับการเดินหมากของฝ่าย

ตรงข้าม

การเล่นเกมจับคู่ไพ่

เพื่อฝึกการจำ

�ตำ

�แหน่งของไพ่แต่ละ

ใบ ซึ่งการที่จะเล่นเกมนี้ให้ได้ผลดีนั้น จะต้องมีการเว้นช่วงเวลาใน

การเปิดไพ่แต่ละคู่เป็นระยะเวลาหนึ่งก่อนที่จะมีการเปิดไพ่ครั้งต่อไป

เพื่อให้สมองได้ฝึกการจำ

�และการท่องจำ

การเล่นเกมเลียนแบบท่า

เต้น

เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เล่นเกมนี้ฝึกจำ

�ท่าเต้นของผู้เล่นคนก่อนหน้า

พร้อมกับการคิดท่าเต้นของตัวเองเพิ่มลงไปเพื่อให้ผู้เล่นคนถัดไปทำ

ตาม นอกจากกิจกรรมดังที่กล่าวมาข้างต้นแล้วยังมีกิจกรรมการละ

เล่นอื่น ๆ อีกมากมายที่ช่วยพัฒนาความสามารถของหน่วยความ

จำ

�สำ

�หรับการประมวลผล ซึ่งท่านผู้อ่านสามารถค้นหาได้ทั้งจาก

ทางอินเทอร์เน็ต หรือการละเล่นพื้นบ้านที่เรารู้จักคุ้นเคยกันนะครับ

การที่สมองของมนุษย์มีขนาดของหน่วยความจำ

�สำ

�หรับการ

ประมวลผลที่จำ

�กัดนั้น ก็ไม่ได้ถือว่าเป็นเรื่องเลวร้ายซะทีเดียว เพราะ

การที่หน่วยความจำ

�สำ

�หรับการประมวลผลสามารถบรรจุข้อมูล

จำ

�นวนมากเป็นระยะเวลานานได้พร้อมกัน ก็อาจจะส่งผลเสียต่อ

ประสิทธิภาพในการทำ

�งานของสมองได้เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาใน

การเลือกใช้ข้อมูลการเลือกลบข้อมูล และการใช้พลังงานในการรักษา

ข้อมูล การที่สมองของมนุษย์มีวิวัฒนาการมาจนมีขนาดของหน่วย

ความจำ

�ระยะสั้นสำ

�หรับการประมวลผลเท่ากับ 7±2 หน่วยข้อมูล

จึงถือว่ามีขนาดที่เหมาะสมต่อการดำ

�เนินกิจกรรมในชีวิตประจำ

วันแล้ว การบริหารจัดการระบบการประมวลผลของสมองให้มี

ประสิทธิภาพจึงขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้ใช้ ไม่ว่าจะเป็นการ

หาวิธีการที่ช่วยในการจำ

� การฝึกปฏิบัติให้กิจกรรมย่อยบางอย่าง

กลายเป็นการทำ

�งานแบบอัตโนมัติ และการหากิจกรรมเพื่อเพิ่ม

ประสิทธิภาพในการทำ

�งานของระบบประมวลผล สำ

�หรับบทความ

เรื่องหน่วยความจำ

�ของสมองสำ

�หรับการประมวลผลนี้ผมก็ขอจบแต่

เพียงเท่านี้ ในบทความต่อไป ผมจะนำ

�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับการทำ

�งาน

ของหน่วยความจำ

�ระยะยาว ในหัวข้อต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นความสามารถ

ในการเก็บข้อมูล ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเก็บข้อมูล และวิธีการจัดการ

ทำ

�งานของหน่วยความจำ

�ระยะยาวให้มีประสิทธิภาพ พบกันใหม่ใน

บทความต่อไปนะครับ

นิตยสาร สสวท.

6