

ถ้าหากท่านผู้อ่านได้ลองทำ
�การคำ
�นวณดูจะพบว่า การหาร
ตัวเลขชุดนี้ในใจโดยไม่กลับมามองที่ตัวเลขอีกครั้งนั้นเป็นเรื่องที่
ยากมากใช่ไหมครับ? ในขณะที่ท่านผู้อ่านพยายามที่จะหารตัวเลข
78 ด้วยตัวเลข 51 สมองของท่านก็จะหลงลืมไปว่า ตัวเลขสองหลัก
สุดท้ายของตัวตั้งที่เหลือคืออะไร และยิ่งกระบวนการหารของท่าน
อยู่ในลำ
�ดับขั้นที่ลึกมากขึ้นเท่าไร โอกาสที่ท่านจะลืมทั้งตัวตั้ง ตัวหาร
และตัวเศษก็มีเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น การคำ
�นวณครั้งนี้จึงเป็นตัวอย่าง
หนึ่งที่แสดงให้เห็นว่า
หน่วยความจำ
�สำ
�หรับการประมวลผลนั้น
มีความสามารถในการเก็บข้อมูลที่จำ
�กัด ทั้งในด้านของจำ
�นวน
ข้อมูลและระยะเวลาในการเก็บข้อมูล
แล้วสมองของมนุษย์เรามีวิธี
การบริหารจัดการหน่วยความจำ
�ที่จำ
�กัดนี้อย่างไร?
ยังไม่มีงานวิจัยใดที่ยืนยันแน่ชัดว่าหน่วยความจำ
�สำ
�หรับการ
ประมวลผลสามารถบรรจุข้อมูลได้พร้อมกันเป็นจำ
�นวนเท่าไร อย่างไร
ก็ตาม
ขนาดความจุของหน่วยความจำ
�สำ
�หรับการประมวลผลที่ได้
รับการยอมรับโดยนักการศึกษาส่วนใหญ่ ก็คือมีขนาดเท่ากับ 7±2
หน่วยข้อมูล
ซึ่งตัวเลขนี้ได้นำ
�เสนอโดย จอร์จ มิลเลอร์ (George
Miller) ในปี 1956 โดยที่ตัวเลข 7±2 หน่วยข้อมูล นี้มีความหมายว่า
มนุษย์เราสามารถจำ
�ข้อมูลไว้ในหน่วยความจำ
�สำ
�หรับการประมวล
ผลพร้อมกันได้เพียง 5 ถึง 9 หน่วยข้อมูลเท่านั้น ซึ่งโดยเฉลี่ยแล้ว
มนุษย์เราจะสามารถเก็บข้อมูลที่หน่วยความจำ
�สำ
�หรับการประมวล
ผลได้พร้อมกันที่จำ
�นวนประมาณ 7 หน่วยข้อมูล
จำ
�นวนข้อมูล 7±2
หน่วยข้อมูล ถูกเรียกว่า ตัวเลขมหัศจรรย์ (Magical Number)
เมื่อได้ทราบขนาดความจุของหน่วยความจำ
�สำ
�หรับการประมวล
ผลที่จำ
�กัดนี้ อาจจะทำ
�ให้ท่านผู้อ่านแปลกใจขึ้นได้ เพราะว่าใน
ความเป็นจริงแล้ว ท่านผู้อ่านสามารถจำ
�ข้อมูลชั่วคราวได้พร้อมกัน
มีจำ
�นวนมากกว่า 9 หน่วยข้อมูล ตัวอย่างเช่น สมองของเราสามารถ
จำ
�ตัวเลขจำ
�นวน 12 ตัว เช่น 1 8 9 6 7 3 5 1 3 2 4 7 ได้อย่าง
ง่ายดาย ทั้งนี้เป็นเพราะว่า สมองของท่านผู้อ่านได้ทำ
�การรวบข้อมูล
ในหน่วยเล็ก ๆ เข้าเป็นกลุ่มของหน่วยใหญ่ ๆ เพื่อช่วยในการจำ
�
ดังนั้น ตัวเลขทั้ง 12 ตัวนี้ จึงอาจจะถูกจัดกลุ่มเพื่อช่วยในการจำ
�ได้
เป็น 1-8-9 6-7-3 5-1-3 2-4-7 ซึ่งเป็นการทำ
�ให้ข้อมูลจำ
�นวน 12
หน่วยข้อมูลขนาดเล็ก กลายเป็นข้อมูลที่ต้องจำ
�เพียง 4 หน่วยข้อมูล
ขนาดใหญ่เท่านั้น เรามักใช้วิธีการนี้ในการจำ
�เบอร์โทรศัพท์ต่าง ๆ
ในกรณีที่ไม่มีอุปกรณ์ภายนอกเข้ามาช่วยในการจำ
�
กระบวนการ
การจัดกลุ่มข้อมูลจากหน่วยข้อมูลขนาดเล็กให้เป็นชุดข้อมูลที่มี
ขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อเพิ่มความสามารถในการเก็บข้อมูลในพื้นที่ที่มี
จำ
�นวนจำ
�กัดของหน่วยความจำ
�สำ
�หรับการประมวลผลนี้ เรียกว่า
การรวมข้อมูลให้เป็นกลุ่มก้อน (Chunking)
นอกจากการรวบข้อมูลให้เป็นกลุ่มก้อนจะสามารถช่วยแก้ปัญหา
การมีพื้นที่สำ
�หรับเก็บข้อมูลสำ
�หรับการประมวลผลของสมองที่มี
จำ
�นวนจำ
�กัดแล้ว สมองยังเพิ่มความสามารถในการทำ
�งานของหน่วย
ความจำ
� สำ
�หรับการประมวลผลด้วยวิธีการแบ่งระบบการจำ
�ข้อมูล
ในรูปแบบที่แตกต่างกัน เช่น ระบบความจำ
�ข้อมูลที่เกี่ยวกับเสียง
(Phonological Loop) ระบบความจำ
�ข้อมูลที่เกี่ยวกับภาพ (Visuo-
spatial Sketchpad) และระบบความจำ
�ข้อมูลที่เกี่ยวกับเหตุการณ์
วัน เวลา สถานที่ และปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (Episodic Buffer)
การแยกแยะระบบความทรงจำ
�ออกเป็นหลายระบบนี้เองทำ
�ให้
มนุษย์เราสามารถทำ
�งานหลายอย่างได้ในเวลาเดียวกัน
แต่อย่างไร
ก็ตาม เพื่อให้ง่ายต่อการทำ
�งานของหน่วยความจำ
�สำ
�หรับการประมวล
ผล กิจกรรมที่มนุษย์เราสามารถทำ
�ได้พร้อมกันนี้ส่วนใหญ่มักจะอยู่
คนละระบบ ซึ่งจะเห็นได้จากการที่เราสามารถทำ
�งานสองงานพร้อม
กันได้ดีในระดับหนึ่ง ถ้าหนึ่งในงานนั้นเป็นงานที่เกี่ยวกับข้อมูลทางเสียง
และอีกงานหนึ่งเป็นงานที่เกี่ยวกับภาพ เช่น การวาดภาพควบคู่ไปกับ
การฟังเพลง และการกวาดบ้านควบคู่ไปกับการคุยโทรศัพท์
วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพในการจำ
�ข้อมูลของหน่วยความจำ
�
สำ
�หรับการประมวลผลในลำ
�ดับต่อไป เป็นวิธีที่ท่านผู้อ่านทั้งหลายคง
รู้จักกันดี นั่นก็คือ
การท่องจำ
� หรือ การคิดทบทวนกลับไปกลับมา
(Maintenance Rehearsal)
การท่องจำ
�เป็นความพยายามที่จะ
ทำ
�ให้ข้อมูลที่บรรจุอยู่ในหน่วยความจำ
�สำ
�หรับการประมวลผลยังคง
อยู่ในหน่วยความจำ
�นี้โดยไม่ถูกลบ จางหาย หรือถูกรบกวน ตัวอย่าง
เช่น ในกรณีการสอบของนักเรียน ที่เราจะมักเห็นว่า นักเรียนจำ
�นวน
หลายคนพยายามที่จะท่องสูตรที่ซับซ้อน ท่องคำ
�ศัพท์ที่ยาก ๆ หรือ
ท่องนิยาม กฎ และทฤษฎีต่าง ๆ จนกระทั่งวินาทีสุดท้ายก่อนเข้าไป
ในห้องสอบ และนักเรียนก็ยังพยายามท่องข้อมูลเหล่านี้อยู่ในใจจน
กระทั่งได้ลงมือทำ
�ข้อสอบ ซึ่งวิธีการที่ดีที่สุดที่จะช่วยให้การท่องจำ
�นี้
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ก็คือ นักเรียนจะต้องรีบจดสิ่งที่ได้ท่องมา
ลงในกระดาษคำ
�ตอบหรือกระดาษทด ก่อนที่ข้อมูลจะจางหายและถูก
รบกวนจากการลงมือทำ
�ข้อสอบ
วิธีการสุดท้ายที่ผมอยากจะนำ
�มาเสนอให้ท่านผู้อ่านได้รับทราบก็
รูปที่ 2
กระดาษทดและแรมของคอมพิวเตอร์
นิตยสาร สสวท.
4