Previous Page  5 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 5 / 62 Next Page
Page Background

รูปที่ 3

การขับรถยนต์

รูปที่ 4

การลดทอนข้อมูลของโจทย์ปัญหาด้วยตัวแปรและแผนภาพ

คือ

การใช้ระบบการทำ

�งานแบบอัตโนมัติ (Automaticity)

ท่านผู้

อ่านหลาย ๆ คนอาจจะเคยประสบกับเหตุการณ์ที่เราไม่สามารถระลึก

ได้ว่า เราได้ทำ

�สิ่งที่เราทำ

�อยู่เป็นประจำ

�แล้วหรือยัง เช่น จำ

�ไม่ได้ว่าได้

ปิดประตูและใส่กลอนบ้านเรียบร้อยก่อนออกจากบ้านแล้วหรือยัง?

จำ

�ไม่ได้ว่าได้หยิบกุญแจบ้านหรือกระเป๋าสตางค์มาด้วยหรือเปล่า? ถ้า

หยิบมาแล้วหยิบตอนไหน? กระบวนการเหล่านี้เป็นกระบวนการที่เรา

กระทำ

�โดยอัตโนมัติ เป็นการดำ

�เนินการที่ใช้ความรู้ตัว ความใส่ใจ และ

การทำ

�งานของสมองน้อยมาก ๆ พูดง่าย ๆ ก็คือ เป็นการกระทำ

�ที่

สามารถทำ

�ได้โดยไม่จำ

�เป็นต้องคิด

การทำ

�งานแบบอัตโนมัติเกิดจาก

การกระทำ

�ซ้ำ

� ๆ และการฝึกปฏิบัติอย่างสม่ำ

�เสมอ

เช่น การหัดขับ

รถยนต์ ซึ่งในตอนแรกที่เราหัดขับรถยนต์ก็จำ

�เป็นที่จะต้องใช้สมองใน

การประมวลผลข้อมูลที่มีจำ

�นวนมากและหลากหลายรูปแบบพร้อม ๆ

กัน ไม่ว่าจะเป็น การบังคับพวงมาลัยและเกียร์ การเหยียบคันเร่งและ

เบรก การมองและสังเกตวัตถุโดยรอบทั้งรถที่ขับอยู่ข้างหน้า รถที่ขับ

สวนมา รถที่จอดอยู่ สิ่งกีดขวางตามท้องถนนต่าง ๆ และการมองหน้า

ปัดของมิเตอร์วัดความเร็ว ซึ่งเราจะพบว่า ยิ่งเราได้มีประสบการณ์ใน

การขับรถยนต์เพิ่มมากขึ้นเท่าไร กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการขับ

รถยนต์ก็จะกลายเป็นการทำ

�งานแบบอัตโนมัติเพิ่มมากขึ้นด้วยเช่นกัน

เมื่อเราขับรถจนชำ

�นาญก็จะทำ

�ให้เรามีพื้นที่ของสมองในการประมวล

ผลสำ

�หรับการทำ

�กิจกรรมอย่างอื่นควบคู่ไปกับการขับรถได้ เช่น การ

ฟังเพลง การร้องเพลง การสะบัดมือ การดีดนิ้ว หรือการหยิบสิ่งของที่

อยู่ใกล้ตัว

จะเห็นได้ว่า กระบวนการการทำ

�งานโดยอัตโนมัตินี่เอง

ที่ทำ

�ให้มนุษย์เราสามารถทำ

�หลายสิ่งหลายอย่างพร้อมกันได้

การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องหน่วยความจำ

�สำ

�หรับการ

ประมวลผลในการเรียนการสอน โดยเฉพาะวิชาฟิสิกส์

1. การแปลงข้อมูลเป็นตัวแปร สมการ รูปภาพ และแผนภาพ

ไดอะแกรม

กระบวนการในการเรียนรู้ทั้งหลายไม่ว่าจะเป็นการอ่าน เขียน คิด

วิเคราะห์ สังเคราะห์ ทำ

�ความเข้าใจ และแก้ปัญหาโจทย์ ล้วนแล้วแต่จะ

ต้องใช้พื้นที่ในการประมวลผลของหน่วยความจำ

�สำ

�หรับการประมวล

ผล การลดภาระในการจำ

�ข้อมูลของหน่วยความจำ

�ส่วนนี้ให้น้อยลง และ

การเพิ่มพื้นที่ในการประมวลผลของหน่วยความจำ

�ส่วนนี้ให้มากขึ้น จึง

มีส่วนช่วยให้มนุษย์เราสามารถคิดและตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ

มากยิ่งขึ้น ซึ่งวิธีการหนึ่งก็คือ การแปลงข้อมูลที่ได้รับเข้ามาจำ

�นวนมาก

ให้เป็นตัวแปร สมการ รูปภาพ และแผนภาพไดอะแกรม ตัวอย่างเช่น ใน

การแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ที่ซับซ้อนนั้น ผู้แก้ปัญหาส่วนใหญ่ก็จำ

�เป็น

ที่จะต้องแปลงโจทย์ที่เป็นข้อความยาว ๆ ให้เป็นตัวแปรและแผนภาพ

ไดอะแกรม จากนั้นจึงวิเคราะห์โจทย์ปัญหาจากตัวแปรและแผนภาพ

แทนการวิเคราะห์ข้อความที่บรรยายโจทย์ปัญหาโดยตรง วิธีการนี้

จะเป็นการทำ

�ให้ผู้แก้ปัญหามีพื้นที่ของสมองในการตีความ วิเคราะห์

และสังเคราะห์โจทย์มากยิ่งขึ้น ในการเรียนรู้ทฤษฎีหรือเนื้อหาสาระ

วิชาการก็เช่นกัน หากเนื้อหาวิชานั้นสามารถแปลงเป็นสมการ รูปภาพ

หรือแผนภาพไดอะแกรม ก็จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถทำ

�ความเข้าใจสิ่งที่

กำ

�ลังเรียนรู้ได้ง่ายยิ่งขึ้น

2. การฝึกทักษะการเรียนรู้ต่าง ๆ อยู่เสมอ

ท่านผู้อ่านหลาย ๆ คนอาจจะเคยสงสัยว่า ทำ

�ไมการฝึกทักษะ

ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้และการดำ

�เนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็น

การพูด การอ่าน การเขียน การปฏิบัติ และการทำ

�โจทย์แบบฝึกหัด

จึงมีความสำ

�คัญ? ทั้งนี้ก็เพราะว่า กิจกรรมที่กล่าวมาข้างต้นนี้ส่วน

ใหญ่เป็นกิจกรรมที่ประกอบไปด้วย

กิจกรรมย่อย

(Subtasks)

อีก

จำ

�นวนมาก ตัวอย่างเช่น ในกระบวนการอ่านที่มีประสิทธิภาพนั้น

ผู้อ่านก็จำ

�เป็นที่จะต้องใช้ทักษะในการแปลความหมายของคำ

� การ

แปลความหมายของประโยค และทักษะในการจับใจความสำ

�คัญ

ซึ่งจะเห็นได้ว่า ข้อความที่มีคำ

�ศัพท์ที่แปลกหรือไม่คุ้นเคย ก็จะยาก

ต่อการทำ

�ความเข้าใจ เพราะผู้อ่านจำ

�เป็นต้องใช้สมองส่วนหนึ่งใน

ปีที่ 42

|

ฉบับที่ 185

|

พฤศจิกายน-ธันวาคม 2556

5